แผนการเรียนการสอนวิชากฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดีบุุคคล


มอค.๓ วิชา ๒๓๐๔๐๔ กฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดีบุคคล (Private International Law) คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ประจำภาคการศึกษาที่ ๒/๒๕๕๔ ยกร่างโดย อ.ฉัตรพร หาระบุตร ตรวจสอบโดย รศ.พันธุ์ทิพย์ กาญจนะจิตรา สายสุนทร อ.ดรุณี ไพศาลพาณิชย์กุล และ อ.กิติวรญา รัตนมณี (ฉบับปรับปรุงวันที่ ๑๕ ตุลาคม พ.ศ.๒๕๕๔)

แผนการเรียนการสอนวิชากฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดีบุคคล
คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ภาคการศึกษาที่ 2/2554

๑. รหัสและชื่อรายวิชา 

     ๒๓๐๔๐๔  กฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดีบุคคล  (Private International Law)

๒. จำนวนหน่วยกิต 

     ๓ (๓-๐-๖)

๓. หลักสูตร และประเภทรายวิชา

     หลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต และเป็นวิชาหมวดวิชาเฉพาะ  กลุ่มวิชาเอกบังคับ

๔. อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชาและอาจารย์ผู้สอน

     อาจารย์ผู้สอน          รองศาสตราจารย์ ดร. พันธุ์ทิพย์ กาญจนะจิตรา สายสุนทร

. ระดับการศึกษา / ชั้นปีที่เรียน 

    ปริญญาตรี นิติศาสตร์ (ภาคปกติ) ชั้นปีที่ ๓

    และ ปริญญาตรี นิติศาสตร์และวิทยาศาสตร์การแพทย์ (คู่ขนาน) ชั้นปีที่ ๔ 

. รายวิชาที่ต้องเรียนมาก่อน (Pre-requisite) (ถ้ามี)

      ไม่มี 

๗. รายวิชาที่ต้องเรียนพร้อมกัน (Co-requisites) (ถ้ามี)  

     ไม่มี 

๘. สถานที่เรียน

     ห้องนิติศาสตร์ ๑  คณะนิติศาสตร์ (LAW 4103)

๙. วันที่จัดทำรายละเอียดของรายวิชา หรือวันที่มีการปรับปรุงครั้งล่าสุด 

     ๑๕ ตุลาคม ๒๕๕๔ 

     จุดมุ่งหมายของรายวิชา 

  ๑. เพื่อให้นิสิตมีความรู้ในทางนิติศาสตร์โดยแท้ กฎหมายที่เป็นอยู่ (Positive Law) ที่มีผลบังคับต่อ “ชีวิตจริงของเอกชนในทางระหว่างประเทศ” ซึ่งถูกเรียกโดยทั่วไปว่า “กฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดีบุคคล”

  ๒. เพื่อให้นิสิตมีความสามารถที่จะนำหลักกฎหมายที่เรียนรู้ไปปรับใช้ได้ในชีวิตจริง  

สัปดาห์ที่

หัวข้อ/รายละเอียด

กิจกรรมการเรียนการสอน

อาจารย์ผู้สอน

-  แนะนำรายวิชา กิจกรรมการเรียนการสอน และวิธีการวัดและประเมินผล 

-  แนะนำการสืบค้น แสวงหาความรู้จากแหล่งเรียนรู้ต่างๆ 

 

ภาคนำ : แนวคิดพื้นฐานของกฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดีบุคคล

๑  บ่อเกิดของกฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดีบุคคล

๒ จากการจำแนกประเภทวิชากฎหมายกฎหมายระหว่างประเทศสู่นิยามกฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดีบุคคล

๓ ลักษณะระหว่างประเทศของนิติสัมพันธ์ของเอกชน

๔ ผู้ทรงสิทธิหรือบุคคลในกฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดีบุคคล

๕ หลักการเลือกกฎหมายที่มีผลบังคับในสถานการณ์การขัดกันแห่งกฎหมาย 

๖ แนวคิดพื้นฐานในกฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดีบุคคล 

๗ ขอบเขตของกฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดีบุคคล 

๘ หนังสืออ่านเพิ่มเติม

- บรรยาย อธิบาย แนวความคิดและหลักกฎหมายที่เกี่ยวข้อง 

- ยกกรณีศึกษาเพื่อปรับหลักกฎหมายในบทเรียนใหม่

- ใช้คำถามนำเพื่อให้ผู้เรียนอภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็น 

 

รศ.ดร.พันธุ์ทิพย์

กาญจนะจิตรา

สายสุนทร

ภาคที่ ๑:  การระงับข้อพิพาทของเอกชนในทางระหว่างประเทศ/สิทธิของเอกชนในความยุติธรรมระหว่างประเทศ

๑ แนวความคิดพื้นฐานและทั่วไปในการระงับข้อพิพาทของเอกชนที่มีลักษณะระหว่างประเทศ

๒ องค์กรระงับข้อพิพาทของรัฐ

๓ องค์กรระงับข้อพิพาทของเอกชน

๔ กฎหมายระหว่างประเทศว่าด้วยการเลือกกฎหมายเพื่อกำหนดการระงับข้อพิพาทของเอกชน

๕ เขตอำนาจศาลไทยในคดีเอกชนที่มีลักษณะระหว่างประเทศ

๖ ข้อยกเว้นเขตอำนาจศาลไทยในคดีเอกชนที่มีลักษณะระหว่างประเทศ

๗ แนวคิดและวิธีการเลือกกฎหมายกำหนดกระบวนพิจารณาคดีเอกชนที่มีลักษณะระหว่างประเทศ

๘ กรณีศึกษา

๙ หนังสืออ่านเพิ่มเติม

- เชิญชวนให้นิสิตตั้งคำถามเกี่ยวกับบทเรียนเก่า

-บรรยาย อธิบาย แนวความคิดและหลักกฎหมายระหว่างประเทศ และหลักกฎหมายในที่เกี่ยวข้อง 

- ยกกรณีศึกษาเพื่อปรับหลักกฎหมายในบทเรียนใหม่

- ใช้คำถามนำเพื่อให้ผู้เรียนอภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็น 

- ให้ทำแบบฝึกหัด 

 

รศ.ดร.พันธุ์ทิพย์

กาญจนะจิตรา

สายสุนทร

ภาคที่ ๒ : การเลือกกฎหมายในการขัดกันแห่งกฎหมายเอกชน

๑ แนวคิดพื้นฐานและท่วไปในการเลือกกฎหมายในการขัดกันแห่งกฎหมายเอกชน

๒ กฎหมาขัดกันคืออะไร?

๓ กลไกของกฎหมายขัดกัน

๔ ข้อยกเว้นของกฎหมายขัดกัน

๕ การเลือกกฎหมายในการขัดกันแห่งกฎหมายบุคคล

๖ การเลือกกฎหมายในการขัดกันแห่งกฎหมายหนี้

๗ การเลือกกฎหมายในการขัดกันแห่งกฎหมายทรัพย์

๘. การเลือกกฎหมายในการขัดกันแห่งกฎหมายครอบครัว

 ๙. การเลือกกฎหมายในการขัดกันแห่งกฎหมายมรดก 

 ๑๐. หนังสืออ่านเพิ่มเติม

- เช่นเดียวกับชั่วโมงการสอนครั้งที่ ๒

รศ.ดร.พันธุ์ทิพย์

กาญจนะจิตรา

สายสุนทร

ภาคที่ ๓ : สิทธิของบุคคลภายใต้กฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดีบุคคล

๑ สิทธิในความเป็นบุคคลตามกฎหมาย 

๑.๑ แนวคิดพื้นฐาน

๑.๒ บ่อเกิดของกฎหมาย

     ๑.๒.๑ กฎหมายระหว่างประเทศ

     ๑.๒.๒ กฎหมายภายในของรัฐ

๑.๓ การรับรองสิทธิในสถานะบุคคลตามกฎหมายเอกชน

๑.๔ การรับรองสิทธิในสถานะบุคคลตามกฎหมายมหาชน

๑.๕ การจำแนกประเภทของมนุษย์โดยกฎหมายทะเบียนราษฎร

๑.๖ การเลือกฎหมายเพื่อกำหนดปัญหาสถานะบุคคลตามกฎหมายเอกชน-กรณีบุคคลธรรมดา

๑.๗ การเลือกฎหมายเพื่อกำหนดปัญหาสถานะบุคคลตามกฎหมายเอกชน-กรณีนิติบุคคลตามกฎหมายเอกชน

๑.๘ หนังสืออ่านเพิ่มเติม

- เช่นเดียวกับชั่วโมงการสอนครั้งที่ ๒

รศ.ดร.พันธุ์ทิพย์

กาญจนะจิตรา

สายสุนทร

๕-๗

๒ สิทธิในความเป็นคนสัญชาติไทย  

๒.๑ แนวคิดพื้นฐาน

๒.๒ กฎหมายระหว่างประเทศ

๒.๓ กฎหมายไทย

๒.๔ ข้อเท็จจริงที่ทำให้มีสิทธิ

๒.๕ ข้อเท็จจริงที่ทำให้เสียสิทธิ

๒.๖ ข้อเท็จจริงที่ทำให้ได้กลับคืนสิทธิ

๒.๗ องค์กรที่เกี่ยวข้อง

๒.๘ หนังสืออ่านเพิ่มเติม

- เช่นเดียวกับชั่วโมงการสอนครั้งที่ ๒

รศ.ดร.พันธุ์ทิพย์

กาญจนะจิตรา

สายสุนทร

๓ สิทธิเข้าเมือง 

๓.๑ แนวคิดพื้นฐาน

๓.๒ กฎหมายระหว่างประเทศ

๓.๓ กฎหมายไทย

๓.๔ ข้อเท็จจริงที่ทำให้มีสิทธิ

๓.๕ ข้อเท็จจริงที่ทำให้เสียสิทธิ

๓.๖ ข้อเท็จจริงที่ทำให้ได้กลับคืนสิทธิ

๓.๗ องค์กรที่เกี่ยวข้อง

๓.๘ หนังสืออ่านเพิ่มเติม

- เช่นเดียวกับชั่วโมงการสอนครั้งที่ ๒

รศ.ดร.พันธุ์ทิพย์

กาญจนะจิตรา

สายสุนทร

๔. สิทธิอาศัย 

๔.๑ แนวคิดพื้นฐาน

๔.๒ กฎหมายระหว่างประเทศ

๔.๓ กฎหมายไทย

๔.๔ ข้อเท็จจริงที่ทำให้มีสิทธิ

๔.๕ ข้อเท็จจริงที่ทำให้เสียสิทธิ

๔.๖ ข้อเท็จจริงที่ทำให้ได้กลับคืนสิทธิ

๔.๗ องค์กรที่เกี่ยวข้อง

๔.๘ หนังสืออ่านเพิ่มเติม 

- เช่นเดียวกับชั่วโมงการสอนครั้งที่ ๒

รศ.ดร.พันธุ์ทิพย์

กาญจนะจิตรา

สายสุนทร

๑๐

 ๕ สิทธิมนุษยชนขั้นพื้นฐาน

๕.๑ แนวคิดพื้นฐาน

๕.๒ สิทธิในศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์

        ๕.๒.๑ นิยามและจำแนกสิทธิ

        ๕.๒.๒ กฎหมายระหว่างประเทศ

        ๕.๒.๓ กฎหมายภายใน

        ๕.๒.๔ ข้อเท็จจริงที่ทำให้มีสิทธิ

        ๕.๒.๕ องค์กรที่เกี่ยวข้อง

        ๕.๒.๖ กรณีศึกษา

        ๕.๒.๗ หนังสืออ่านเพิ่มเติม

๕.๓ สิทธิในการศึกษา 

        ๕.๓.๑ นิยามและจำแนกสิทธิ

        ๕.๓.๒ กฎหมายระหว่างประเทศ

        ๕.๓.๓ กฎหมายภายใน

        ๕.๓.๔ ข้อเท็จจริงที่ทำให้มีสิทธิ

        ๕.๓.๕ องค์กรที่เกี่ยวข้อง

        ๕.๓.๖ กรณีศึกษา 

        ๕.๓.๗ หนังสืออ่านเพิ่มเติม

๕.๔ สิทธิทางสาธารณสุข 

        ๕.๔.๑ นิยามและจำแนกสิทธิ

        ๕.๔.๒ กฎหมายระหว่างประเทศ

        ๕.๔.๓ กฎหมายภายใน

        ๕.๔.๔ ข้อเท็จจริงที่ทำให้มีสิทธิ

        ๕.๔.๕ องค์กรที่เกี่ยวข้อง

        ๕.๔.๖ กรณีศึกษา 

        ๕.๔.๗ หนังสืออ่านเพิ่มเติม

- เช่นเดียวกับชั่วโมงการสอนครั้งที่ ๒

รศ.ดร.พันธุ์ทิพย์

กาญจนะจิตรา

สายสุนทร

๑๑

๕.๕ สิทธิเคลื่อนไหว

        ๕.๕.๑ นิยามและจำแนกสิทธิ

        ๕.๕.๒ กฎหมายระหว่างประเทศ

        ๕.๕.๓ กฎหมายภายใน

        ๕.๕.๔ ข้อเท็จจริงที่ทำให้มีสิทธิ

        ๕.๕.๕ องค์กรที่เกี่ยวข้อง

        ๕.๕.๖ กรณีศึกษา

        ๕.๕.๗ หนังสืออ่านเพิ่มเติม 

๕.๖ สิทธิในการก่อตั้งครอบครัว

        ๕.๖.๑ นิยามและจำแนกสิทธิ

        ๕.๖.๒ กฎหมายระหว่างประเทศ

        ๕.๖.๓ กฎหมายภายใน

        ๕.๖.๔ ข้อเท็จจริงที่ทำให้มีสิทธิ

        ๕.๖.๕ องค์กรที่เกี่ยวข้อง

        ๕.๖.๖ กรณีศึกษา

          ๕.๖.๗ หนังสืออ่านเพิ่มเติม

- เช่นเดียวกับชั่วโมงการสอนครั้งที่ ๒ 

 

รศ.ดร.พันธุ์ทิพย์

กาญจนะจิตรา

สายสุนทร

๑๒

๖. สิทธิในคุณภาพชีวิตพื้นฐาน

๖.๑ แนวคิดพื้นฐาน  

๖.๒ สิทธิถือครองทรัพย์สิน

       ๖.๒.๑ นิยามและจำแนกสิทธิ

        ๖.๒.๒ กฎหมายระหว่างประเทศ

        ๖.๒.๓ กฎหมายภายใน

        ๖.๒.๔ ข้อเท็จจริงที่ทำให้มีสิทธิ

        ๖.๒.๕ องค์กรที่เกี่ยวข้อง

        ๖.๒.๖ กรณีศึกษา

        ๖.๒.๗ หนังสืออ่านเพิ่มเติม

- เช่นเดียวกับชั่วโมงการสอนครั้งที่ ๒

รศ.ดร.พันธุ์ทิพย์

กาญจนะจิตรา

สายสุนทร

๑๓

๖.๓ สิทธิในการทำงาน 

        ๖.๓.๑ นิยามและจำแนกสิทธิ

        ๖.๓.๒ กฎหมายระหว่างประเทศ

        ๖.๓.๓ กฎหมายภายใน

        ๖.๓.๔ ข้อเท็จจริงที่ทำให้มีสิทธิ

        ๖.๓.๕ องค์กรที่เกี่ยวข้อง

        ๖.๓.๖ กรณีศึกษา

        ๖.๓.๗ หนังสืออ่านเพิ่มเติม

 

 

 

- เช่นเดียวกับชั่วโมงการสอนครั้งที่ ๒

รศ.ดร.พันธุ์ทิพย์

กาญจนะจิตรา

สายสุนทร

๑๔

 ๖.๔ สิทธิลงทุน/ประกอรธุรกิจ

        ๖.๔.๑ นิยามและจำแนกสิทธิ

        ๖.๔.๒ กฎหมายระหว่างประเทศ

        ๖.๔.๓ กฎหมายภายใน

        ๖.๔.๔ ข้อเท็จจริงที่ทำให้มีสิทธิ

        ๖.๔.๕ องค์กรที่เกี่ยวข้อง

        ๖.๔.๖ กรณีศึกษา

        ๖.๔.๗ หนังสืออ่านเพิ่มเติม

- เช่นเดียวกับชั่วโมงการสอนครั้งที่ ๒

รศ.ดร.พันธุ์ทิพย์

กาญจนะจิตรา

สายสุนทร

๑๕

๗ สิทธิเข้าร่วมทางการปกครองและการเมือง 

๗.๑ แนวคิดพื้นฐาน

       ๗.๑.๑ การเข้าร่วมการเมืองภาคผู้แทนทางการเมือง

      ๗.๑.๒ การเข้าร่วมการเมืองภาคประชาชน

๗.๒ สิทธิเลือกตั้ง

        ๗.๒.๑ นิยามและจำแนกสิทธิ

        ๗.๒.๒ กฎหมายระหว่างประเทศ

        ๗.๒.๓ กฎหมายภายใน

        ๗.๒.๔ ข้อเท็จจริงที่ทำให้มีสิทธิ

        ๗.๒.๕ องค์กรที่เกี่ยวข้อง

        ๗.๒.๖ กรณีศึกษา

๗.๓ สิทธิรับเลือกตั้ง

        ๗.๓.๑ นิยามและจำแนกสิทธิ

        ๗.๓.๒ กฎหมายระหว่างประเทศ

        ๗.๓.๓ กฎหมายภายใน

        ๗.๓.๔ ข้อเท็จจริงที่ทำให้มีสิทธิ

        ๗.๓.๕ องค์กรที่เกี่ยวข้อง

        ๗.๓.๖ กรณีศึกษา

๗.๔ สิทธิเข้าร่วมพรรคการเมือง

        ๗.๔.๑ นิยามและจำแนกสิทธิ

        ๗.๔.๒ กฎหมายระหว่างประเทศ

        ๗.๔.๓ กฎหมายภายใน

        ๗.๔.๔ ข้อเท็จจริงที่ทำให้มีสิทธิ

        ๗.๔.๕ องค์กรที่เกี่ยวข้อง

        ๗.๔.๖ กรณีศึกษา

๗.๕ สิทธิดำรงตำแหน่งที่สำคัญของประเทศ

        ๗.๕.๑ นิยามและจำแนกสิทธิ

        ๗.๕.๒ กฎหมายระหว่างประเทศ

        ๗.๕.๓ กฎหมายภายใน

        ๗.๕.๔ ข้อเท็จจริงที่ทำให้มีสิทธิ

        ๗.๕.๕ องค์กรที่เกี่ยวข้อง

        ๗.๕.๖ กรณีศึกษา

- เช่นเดียวกับชั่วโมงการสอนครั้งที่ ๒

รศ.ดร.พันธุ์ทิพย์

กาญจนะจิตรา

สายสุนทร

๑๖

สอบปลายภาค

-

-

 

แผนการประเมินผลการเรียนรู้

กิจกรรมที่

ผลการเรียนรู้ 

วิธีการประเมิน

สัปดาห์ที่ประเมิน

สัดส่วนของการประเมินผล 

 

ความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับแนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับการจัดสรรประชากร สถานภาพของบุคคลในทางระหว่างประเทศ กฎเกณฑ์ว่าด้วยการขัดกันแห่งกฎหมาย และวิธีระงับข้อพิพาทของบุคคลในทางระหว่างประเทศ

- การทำแบบทดสอบตนเอง  

(Take Home Exam)

สัปดาห์ ๗ และ 

สัปดาห์ ๑๔

๑๐%

ความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับแนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับการจัดสรรประชากร สถานภาพของบุคคลในทางระหว่างประเทศ กฎเกณฑ์ว่าด้วยการขัดกันแห่งกฎหมาย และวิธีระงับข้อพิพาทของบุคคลในทางระหว่างประเทศ 

- สอบปลายภาค

สัปดาห์ ๑๖ 

๙๐% 

รวม

 

๑๐๐%

 


เอกสารประกอบการเรียนการสอน

๑. ตำราและเอกสารหลัก 

บทบัญญัติแห่งกฎหมายที่สำคัญเกี่ยวกับกฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดีบุคคล

๑.๑ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. ๒๕๕๐

๑.๒ พ.ร.บ.ว่าด้วยการขัดกันแห่งกฎหมาย พ.ศ. ๒๔๘๑

๑.๓ พ.ร.บ. ทะเบียนราษฎร พ.ศ. ๒๕๓๔, แก้ไขเพิ่มเติม ฉบับที่ ๒ พ.ศ.๒๕๕๑

๑.๔ พ.ร.บ. สัญชาติ พ.ศ. ๒๕๐๘ , แก้ไขเพิ่มเติม ฉบับที่ ๒ และ ๓ พ.ศ.๒๕๓๕ และฉบับที่ ๔ พ.ศ.๒๕๕๑

๑.๕ พ.ร.บ. การทะเบียนคนต่างด้าว พ.ศ. ๒๕๒๑

๑.๖ พ.ร.บ. คนเข้าเมือง พ.ศ. ๒๕๒๒ และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง

๑.๗ พ.ร.บ. การทำงานคนต่างด้าว พ.ศ. ๒๕๕๑ และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง

๑.๘ พ.ร.บ. การประกอบธุริกจคนต่างด้าว พ.ศ. ๒๕๔๒

๑.๙ พ.ร.บ. ควบคุมและจัดการกิจการหรือทรัพย์สินของคนต่างด้าวบางจำพวกในภาวะคับขัน พ.ศ. ๒๔๘๔

๑.๑๐ ประมวลกฎหมายที่ดิน พ.ศ. ๒๔๙๗

๑.๑๑ พ.ร.บ. เนรเทศ พ.ศ. ๒๔๙๙

๑.๑๒ กฎหมายว่าด้วยวิธีพิจารณาความที่เกี่ยวข้อง

๑.๑๓ พ.ร.บ. จดทะเบียนครอบครัว พ.ศ. ๒๔๗๘ และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง

๑.๑๔ มติคณะรัฐมนตรี หนังสือเวียนที่เกี่ยวข้อง

๒. เอกสารและข้อมูลสำคัญ 

กมล สนธิเกษตริน, กฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดีบุคคล , กรุงเทพฯ, สำนักพิมพ์นิติบรรณการ, ๒๕๓๖

คนึง ฦาไชย, คำอธิบายว่าด้วยการขัดกันแห่งกฎหมาย , กรุงเทพฯ , วิญญูชน, ๒๕๕๓

คนึง ฦาไชย, กฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดีบุคคล, กรุงเทพฯ, เนติบัณฑิตยสภา, ๒๕๒๒

ชุมพร ปัจจุสานนท์ , กฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดีบุคคล เล่ม ๑ : สัญชาติ , กรุงเทพฯ,วิญญูชน, ๒๕๔๖

พันธุ์ทิพย์ กาญจนะจิตรา สายสุนทร, กฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดีบุคคล , ภาคนำ : แนวความคิดทั่วไปเกี่ยวกับนิติสัมพันธ์ของเอกชนที่มีลักษณะระหว่างประเทศ, กรุงเทพฯ, สำนักพิมพ์วิญญูชน, ๒๕๔๘

พันธุ์ทิพย์ กาญจนะจิตรา สายสุนทร, คำอธิบายกฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดีบุคคล ภาค ๑ การจัดสรรเอกชนในทางระหว่างประเทศ, กรุงเทพฯ , วิญญูชน, ๒๕๔๑

พันธุ์ทิพย์  กาญจนจิตรา  สายสุนทร, คำอธิบายกฎหมายสัญชาติไทย ภายใต้ พ.ร.บ.สัญชาติ พ.ศ. ๒๕๐๘ ซึ่งถูกแก้ไขโดย พ.ร.บ.สัญชาติ (ฉบับที่ ๒ และ ๓) พ.ศ. ๒๕๓๕

ประสิทธิ์ ปิวาวัฒนพานิช, คำอธิบายกฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดีบุคคล, กรุงเทพฯ,  สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, ๒๕๕๓

ภาสกร ชุณหอุไร, กฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดีบุคคล, สำนักพิมพ์นิติบรรณการ, ๒๕๒๐

วิเชียร วัฒนคุณ, กฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดีบุคคล, พระนคร, โรงพิมพ์ธรรมศาสตร์, ๒๕๐๙

หยุด  แสงอุทัย, กฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดีบุคคล, พระนคร , โรงพิมพ์ธรรมศาสตร์, ๒๕๒๒

๓. เอกสารและข้อมูลแนะนำ 

http://www.archanwell.org/

http://learners.in.th/blog/notes-of-archanwell-on-private-international-law/424903

http://gotoknow.org/blog/archanwell

http://www.facebook.com/archanwell

 


นิสิตสามารถดาวน์โหลด แผนการสอน มอค.3 ได้ที่นี่ 
หมายเลขบันทึก: 470712เขียนเมื่อ 8 ธันวาคม 2011 16:08 น. ()แก้ไขเมื่อ 19 มิถุนายน 2012 08:16 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-อนุญาตแบบเดียวกันจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท