ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาลได้รับสารอาหารน้อยกว่าความต้องการของร่างกาย


ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาลได้รับสารอาหารน้อยกว่าความต้องการของร่างกาย

ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาลได้รับสารอาหารน้อยกว่าความต้องการของร่างกาย

ได้รับสารอาหารน้อยกว่าความต้องการของร่างกายเนื่องจาก

£ เบื่ออาหาร

£ กินได้น้อยจากเจ็บปาก คอ คลื่นไส้อาเจียน

£ ขาดความรู้ทางโภชนาการที่ถูกต้อง

£ มีการใช้พลังงานมาก เช่น ไข้สูง มีบาดแผล

£ ปัญหาเศรษฐกิจ

£ อื่นๆ............................................

..........................................................

                

ข้อมูลสนับสนุน

s :  ผู้ป่วยแจ้งว่าเบื่ออาหาร/รับประทานสารอาหารได้น้อย 

o : £ การย่อยและการดูดซึมอาหารลดลง(on NG feed)

      £ Albumin……………….

      £,Edema grade....................

      £ BMI …………..…..……….

 (ปกติ18.5-25.0kg/m2)                   

วัตถุประสงค์ 

£ เพื่อให้ได้รับอาหารเพียงพอ

£ ผู้ป่วยไม่มีภาวะขาดสารอาหาร

 

เกณฑ์การประเมิน

£ ผู้ป่วยประประทานอาหารได้มากขึ้นตามเกณฑ์ที่กำหนด

£ BMI ปกติ(18.5-25.0kg/m2)                    

£ เยื่อบุตามีสีแดง

£ Hct > 36 %

£ Serum albumin > 3 gm%

£ ประเมินภาวะได้รับสารอาหารน้อยกว่าความต้องการของร่างกายจากการรับประทาน, BMI และอื่นๆ

£ ขออนุญาตผู้ป่วย/ให้เหตุผลก่อนให้การพยาบาล

£ ชั่งน้ำหนัก สัปดาห์ละ1-2 ครั้ง BMI ปกติ

£ กระตุ้นให้รับประทานอาหารอ่อน ย่อยง่าย

£ ปรึกษาโภชนคลีนิก เพื่อคำนวณสารอาหารที่เหมาะกับสภาพผู้ป่วย  และแผนการรักษา                

£ ดูแลให้ได้รับสารน้ำทางหลอดเลือดดำ...........................................................……

£ ติดตามผลการตรวจทาง ห้องปฏิบัติการ

 ( Hct,alb)

£ ให้อาหารอ่อนย่อยง่ายครั้งละน้อย ๆ บ่อย ๆหลีกเลี่ยงอาหารหวาน มัน เครื่องเทศ                                 

£ ดูแลให้ได้รับประทานยาตามแผนการรักษา

£ จัดอาหารให้น่ารับประ ทาน เพื่อกระตุ้นการอยากอาหาร

£ จัดสภาพแวดล้อมให้สะอาดรับประทานร่วมกันหรือทานพร้อมญาติ

£ ถ้าเบื่ออาหารโรงพยาบาลอาจให้ผู้ป่วย/ญาติ เลือกอาหารเองหรือแนะนำญาตินำอาหารมาเองโดยไม่ขัดกับโรคที่เป็น

£ ประเมินอาการขาดสารอาหารอย่างรุนแรง เช่น อาการกล้ามเนื้อแขนขาลีบ เยื่อบุตราซีด อาการบวมจาก albumin ในเลือดต่ำ

£ การดูแลหากมีคลื่นไส้อาเจียน

£ ประเมินภาวะไม่สมดุลของอิเล็กโตรไลต์ในร่างกาย หลังให้การพยาบาลพร้อมบันทึกทุกเวร พบว่า    ดีขึ้น/คงเดิม/ไม่ดีขึ้น  ได้ให้การพยาบาลต่อเนื่องโดย.......................................................................................

....................................................................................... 

วัตถุประสงค์

£ เพื่อให้ได้รับอาหารเพียงพอ

£ ผู้ป่วยไม่มีภาวะขาดสารอาหาร

 

เกณฑ์การประเมิน

£ ผู้ป่วยประประทานอาหารได้มากขึ้นตามเกณฑ์ที่กำหนด

£ BMI ปกติ(18.5-25.0kg/m2)                    

£ เยื่อบุตามีสีแดง

£ Hct > 36 %

£ Serum albumin > 3 gm%

กิจกรรมการพยาบาล

£ ประเมินภาวะได้รับสารอาหารน้อยกว่าความต้องการของร่างกายจากการรับประทาน, BMI และอื่นๆ

£ ขออนุญาตผู้ป่วย/ให้เหตุผลก่อนให้การพยาบาล

£ ชั่งน้ำหนัก สัปดาห์ละ1-2 ครั้ง BMI ปกติ

£ กระตุ้นให้รับประทานอาหารอ่อน ย่อยง่าย

£ ปรึกษาโภชนคลีนิก เพื่อคำนวณสารอาหารที่เหมาะกับสภาพผู้ป่วย  และแผนการรักษา                

£ ดูแลให้ได้รับสารน้ำทางหลอดเลือดดำ...........................................................……

£ ติดตามผลการตรวจทาง ห้องปฏิบัติการ

 ( Hct,alb)

£ ให้อาหารอ่อนย่อยง่ายครั้งละน้อย ๆ บ่อย ๆหลีกเลี่ยงอาหารหวาน มัน เครื่องเทศ                                 

£ ดูแลให้ได้รับประทานยาตามแผนการรักษา

£ จัดอาหารให้น่ารับประ ทาน เพื่อกระตุ้นการอยากอาหาร

£ จัดสภาพแวดล้อมให้สะอาดรับประทานร่วมกันหรือทานพร้อมญาติ

£ ถ้าเบื่ออาหารโรงพยาบาลอาจให้ผู้ป่วย/ญาติ เลือกอาหารเองหรือแนะนำญาตินำอาหารมาเองโดยไม่ขัดกับโรคที่เป็น

£ ประเมินอาการขาดสารอาหารอย่างรุนแรง เช่น อาการกล้ามเนื้อแขนขาลีบ เยื่อบุตราซีด อาการบวมจาก albumin ในเลือดต่ำ

£ การดูแลหากมีคลื่นไส้อาเจียน

£ ประเมินภาวะไม่สมดุลของอิเล็กโตรไลต์ในร่างกาย หลังให้การพยาบาลพร้อมบันทึกทุกเวร พบว่า    ดีขึ้น/คงเดิม/ไม่ดีขึ้น  ได้ให้การพยาบาลต่อเนื่องโดย.......................................................................................

.......................................................................................

 



ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท