drapichart
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. อภิชาติ สนธิสมบัติ

การจัดการองค์ความรู้ ด้านบริการวิชาการ


KM, SCI, RMUTT

บล็อกนี้ใช้สำหรับแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างอาจารย์ และเจ้าหน้าที่ของคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มทร.ธัญบุรี สำหรับด้านบริการวิชาการ ครับ กรุณาโพสต์ได้ที่นี่ครับ

คำสำคัญ (Tags): #km#rmutt#sci
หมายเลขบันทึก: 436187เขียนเมื่อ 21 เมษายน 2011 11:01 น. ()แก้ไขเมื่อ 11 ธันวาคม 2012 13:41 น. ()สัญญาอนุญาต: สงวนสิทธิ์ทุกประการจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (11)

เทคนิคการกำหนดหัวข้อในการบริการวิชาการ

1. สำรวจความต้องการของชุมชน โดย

ใช้แบบสอบถามความต้องการของชุมชน

พบปะผู้นำชุมชน

รับความคิดเห็นผ่าน web site คณะฯ

ศึกษาจุดแข็ง-จุดอ่อนของชุมชน

2. ประชุมระดมสมองเพื่อกำหนดหัวข้อในการให้บริการทางวิชาการ

ประมวลผลผ่านโปรแกรมสำเร็จรูป

ประชุมเพื่อกำหนดหัวข้อตามศักยภาพของคณะฯ

เทคนิคการกำหนดหัวข้อในการบริการวิชาการ

1. สำรวจความต้องการของชุมชน โดย

ใช้แบบสอบถามความต้องการของชุมชน

พบปะผู้นำชุมชน

รับความคิดเห็นผ่าน web site คณะฯ

ศึกษาจุดแข็ง-จุดอ่อนของชุมชน

2. ประชุมระดมสมองเพื่อกำหนดหัวข้อในการให้บริการทางวิชาการ

ประมวลผลผ่านโปรแกรมสำเร็จรูป

ประชุมเพื่อกำหนดหัวข้อตามศักยภาพของคณะฯ

เทคนิคการกำหนดหัวข้อในการบริการวิชาการ

ด้านบริการวิชาการแก่สังคม

เทคนิคการกำหนดหัวข้อในการบริการวิชาการ
   1. สำรวจความต้องการของชุมชน   โดย
   - ใช้แบบสอบถามความต้องการของชุมชน
   - พบปะผู้นำชุมชน
   - รับความคิดเห็นผ่าน web site คณะฯ
   - ศึกษาจุดแข็ง-จุดอ่อนของชุมชน

   2. ประชุมระดมสมองเพื่อกำหนดหัวข้อในการให้บริการทางวิชาการ
   - ประมวลผลผ่านโปรแกรมสำเร็จรูป
   - ประชุมเพื่อกำหนดหัวข้อตามศักยภาพของคณะฯ

ด้านบริการวิชาการแก่สังคม

ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3

การเสริมสร้างความเข้มแข็งให้กับชุมชนและสังคมบนพื้นฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

เป้าประสงค์

ประชาชนในชุมชนและสถานประกอบการได้รับการบริการวิชาการด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเพื่อให้มีความรู้ความสามารถในการพัฒนาตนเอง

ตัวชี้วัด /เป้าหมาย

1. ร้อยละของผู้เข้ารับบริการนำความรู้ไปใช้ประโยชน์และมีผลลัพธ์จากการดำเนินงาน ร้อยละ 82

2. ร้อยละของโครงการบริการวิชาการที่ส่งเสริมศักยภาพในการแข่งขันของประเทศในเวลา 1 ปี ร้อยละ 70

3. ร้อยละเฉลี่ยของอาจารย์ประจำที่ได้รับการร้องขอจากหน่วยงานภายนอกให้เป็นที่ปรึกษา เป็นกรรมการวิชาการ/วิชาชีพต่ออาจารย์ประจำ ร้อยละ 18

องค์ความรู้ที่จำเป็น : เทคนิคการกำหนดหัวข้อในการบริการวิชาการ

1. สำรวจความต้องการของชุมชน

1.1 สาระสำคัญของการสำรวจ

- เคยผ่านการอบรมในเรื่องใดมาบ้าง

- มีความสนใจอบรมในเรื่องใด (อาจมีการกำหนดด้านการอบรมให้เลือกตามศักยภาพของหน่วยงาน เช่น ด้านคอมพิวเตอร์ ด้านสิ่งแวดล้อม และด้านผลิตภัณฑ์ธรรมชาติ เป็นต้น)

- ช่วงเวลาที่สามารถเข้าร่วม / ระยะเวลาที่เหมาะสมในการอบรม

- ทรัพยากรที่มีภายในชุมชน

1.2 ช่องทางการสำรวจความต้องการของชุมชน

- ใช้แบบสอบถามความต้องการของชุมชน

- พบปะผู้นำชุมชน

- รับความคิดเห็นผ่าน web site ของหน่วยงาน

1.3 กลยุทธ์การแจกแบบสอบถามความต้องการของชุมชน

- สำรวจข้อมูลพื้นฐานและโครงสร้างของชุมชน

(ข้อมูลจากหน่วยงานภาครัฐหรือเอกชน เช่น พัฒนากรชุมชน เกษตรอำเภอ สาธารณสุขชุมชน หมอดิน เป็นต้น)

- กำหนดขอบเขตพื้นที่ที่จะสำรวจความต้องการของชุมชน

- ส่งอาจารย์และนักศึกษาร่วมแจกแบบสอบถามตามพื้นที่เป้าหมาย

1.4 ช่องทางการพบปะผู้นำชุมชน

- ขอเข้าร่วมประชุมของชุมชน หรือเข้าร่วมกิจกรรม อำเภอเคลื่อนที่

- แจ้งผ่านวิทยุชุมชน

- ติอต่อผ่านตัวแทนภาครัฐในพื้นที่ เช่น พัฒนากรชุมชน เกษตรอำเภอ สาธารณสุขชุมชน หมอดิน เป็นต้น

1.5 กลยุทธ์การพบปะผู้นำชุมชน

- ติดต่อนัดหมายกับผู้นำชุมชนล่วงหน้า

- ศึกษาวัฒนธรรมชุมชนก่อนพบปะผู้นำชุมชน

- สร้างความประทับใจครั้งแรกในการพบปะผู้นำชุมชน เช่น การแต่งกายที่เหมาะสม ความมีมนุษยสัมพันธ์ และบุคลิกภาพที่ดีของตัวแทนหน่วยงาน (อาจมีของฝาก)

- สร้างความน่าเชื่อถือของตัวแทนหน่วยงาน

- แนะนำหน่วยงานให้เป็นที่รู้จัก

- นำเสนอสาระสำคัญของการพบปะผู้นำชุมชนอย่างกระชับ ชัดเจน และตรงประเด็น

2. ศึกษาจุดแข็ง-จุดอ่อนของชุมชน

- ข้อมูลจากหน่วยงานภาครัฐหรือเอกชน

- ข้อมูลจาก internet

- ข้อมูลจากแบบสอบถาม

3. กลยุทธ์การกำหนดหัวข้อในการให้บริการวิชาการ

- สรุปหัวข้อการบริการวิชาการที่ได้จากการสำรวจจากช่องทางต่างๆ

- พิจารณาความพร้อมของหน่วยงานในการจัดโครงการบริการวิชาการตามความต้องการของชุมชน ทั้งด้านบุคลากร งบประมาณ และสถานที่

การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ (KM) คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ครั้งที่ 1

วันที่  21  มีนาคม 2554

ณ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี

ด้านบริการวิชาการแก่สังคม 

เทคนิคการกำหนดหัวข้อในการบริการวิชาการ

1. สำรวจความต้องการของชุมชน   โดย

    ใช้แบบสอบถามความต้องการของชุมชน

    พบปะผู้นำชุมชน 

    รับความคิดเห็นผ่าน web site คณะฯ

    ศึกษาจุดแข็ง-จุดอ่อนของชุมชน

2. ประชุมระดมสมองเพื่อกำหนดหัวข้อในการให้บริการทางวิชาการ

    ประมวลผลผ่านโปรแกรมสำเร็จรูป

    ประชุมเพื่อกำหนดหัวข้อตามศักยภาพของคณะฯ

 

กลุ่มของอาจารย์ ค่อนข้างละเอียดมากครับ อย่างไรก็ตามลองพิจารณาจากเว็บไซท์นี้ เผื่อเราได้ทำแต่ไม่ได้นำมาเขียนนะครับ

การบริหารงานบริการวิชาการและสัมพันธภาพต่อชุมชน

รองศาสตราจารย์ ดร. วีระพล ทองมา คณบดีคณะพัฒนาการท่องเที่ยว มหาวิทยาลัยแม่โจ้

น่าอ่านมาครับ 28 หน้า มุมมองการบริหารงานบริการวิชาการที่เราพูดกันแต่ไม่ได้เจาะรายละเอียดนะครับ

http://docs.google.com/viewer?a=v&q=cache:H8srTOBf7T0J:personnel.mju.ac.th/itm-admin/uploads/12811.doc+%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%9A%E0%B8%A3%E0%B8%B4%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8%8A%E0%B8%B2%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3+%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%AA%E0%B8%9A%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B8%AA%E0%B8%B3%E0%B9%80%E0%B8%A3%E0%B9%87%E0%B8%88&hl=th&gl=th&pid=bl&srcid=ADGEESitFVJCyIuOM_u2YpT4rgU5mp0uVJpIHE3CqnM2UBp-KBiuiKGshODyNMEJp6gOKLFmgthseMdgufC2xXy8J0gwCa3sSQvX9gCguxSxLJFTJncDU2xgAQyImQzYXz_Up0BZSF-6&sig=AHIEtbQRrTER3iiXcvimsdw4MiBvfhVNAA

ขอเปลี่ยนชื่อหัวข้อ KM "เทคนิคการได้มาซึ่งหัวข้อในการบริการวิชาการ" แทน ตามที่ ท่าน ผศ.สมควร สนองอุทัย (วิทยากร) เสนอนะครับ

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท