วิจัยชั้นเรียนเรื่องสิ่งแวดล้อม-ภาคผนวก


ทรัพยากร ,นิสิต ,วิจัย ,สิ่งแวดล้อม ,เรียนรู้
บรรณานุกรม

 

เอกสารวิชาการ

 

  1. กระทรวงศึกษาธิการ . 2539  . การสอนสิ่งแวดล้อมศึกษา . กรุงเทพฯ  :  สำนักพิมพ์ครุสภา
  2. 2.      คณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ ,สำนักงาน . 2525 .    “เอกสารประกอบการสัมมนา 

จริยธรรมไทย . กระทรวงศึกษาธิการ  .  กรุงเทพ ฯ : สำนักพิมพ์ครุสภา  . 

  1. ยศ      สันติสมบัติ . 2537 . น้ำ 1360 . สถาบันชุมชนท้องถิ่นพัฒนา . กรุงเทพ ฯ : โครงการจัดพิมพ์คบไฟ

4.  ระพี    สาคริก  . 2541  . เอกสารประกอบการสัมมนาจริยธรรมต่อสิ่งแวดล้อม

     มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ .

         5. สุมน   อมรวิวัฒน์ . 2542 .   การเรียนรู้ตามแนวพุทธศาสตร์ .   มหาวิทยาลัยสุโขทัย

              ธรรมาธิราช  . นนทบุรี : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช

   6. สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ . 2542 . การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม . กรุงเทพฯ:

        สำนักพิมพ์ครุสภา

   7. การศึกษาขั้นพื้นฐาน ,สำนักงาน . กระทรวงศึกษาธิการ  . การสอนสิ่งแวดล้อม . 2539.

   8. ชัยพร  วิชชาวุธ และธีระพร  อุวรรณโณ . (ไพทูรย์   สินลารัตน์  บรรณาธิการ) . 2544 . ความรู้

คู่คุณธรรม : รวมบทความเกี่ยวกับคุณธรรม  จริยธรรม  และการศึกษา . กรุงเทพฯ , สำนัก

พิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

        9. ดวงเดือน   พันธุมนาวิน  และเพ็ญแข  ประจนปัจจนึก . 2536 . จริยธรรมของเยาวชนไทย .

            รายงานการวิจัยสถาบันพฤติกรรมศาสตร์ , มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ  ประสานมิตร

       10. พระเมธีธรรมมาภรณ์ . (ไพทูรย์   สินลารัตน์  บรรณาธิการ) . 2544 . ความรู้คู่คุณธรรม : รวม

            บทความเกี่ยวกับคุณธรรม  จริยธรรม  และการศึกษา . กรุงเทพฯ , สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์

            มหาวิทยาลัย

       11. วราพร   ศรีสุพรรณ . 2535 . สิ่งแวดล้อมศึกษา  . (พิมพ์ครั้งที่ 2) กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์โอ 

             เอส  พริ้นติ้งเฮาส์

       12. วินัย  วีระวัฒนานนท์ . 2530 . สิ่งแวดล้อมศึกษา . กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์โอเดี้ยนสโตร์

        13. เสริมศรี   ไชยศร  . 2539 . พื้นฐานการสอน . เชียงใหม่     : ลานนาการพิมพ์

 

14. สุรางค์  โค้วตระกูล . 2541 . จิตวิทยาการศึกษา . กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์

 มหาวิทยาลัย

15. อารี   พันธ์มณี  . 2534 . จิตวิทยาการเรียนการสอน . กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์ไทยวัฒนา

      พานิช

 

งานวิจัยและวิทยานิพนธ์ 

 

1. ลำดวน   เกษตรสุนทร  . 2526 . ทัศนคติทางจริยธรรมของนิสิตระดับอุดมศึกษาจังหวัด

สงขลา .  ปริญญานิพนธ์มหาบัณฑิต  สาขาพฤติกรรมศาสตร์เบื้องต้น บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครรินทรวิโรฒ. 2526.

2. วารี  ชีวะเจริญ . 2537 . การพัฒนาจริยธรรมในวิชาสิ่งแวดล้อมศึกษาโดยใช้การสอนเน้นทักษะกระบวนการสำหรับนักศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่  วิทยาลัยอาชีวศึกษาสุรินทร์  จังหวัดสุรินทร์ . วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต , บัณฑิตวิทยาลัย  มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

3. ศิริพร  ชีพประกิต . 2533 . การพัฒนาค่านิยมด้านสิ่งแวดล้อมโดยใช้กระบวนการกระจ่างนิยมสำหรับนักศึกษาประกาศนียบัตรชั้นปีที่  วิทยาลัยอาชีวศึกษาภูเก็ต  จังหวัดภูเก็ต . กรุงเทพฯ : วิทยานิพนธ์ปริญญาโท , มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

4. ศิริวรรณ  โอสถานนท์ . 2535 . พุทธศาสนากับการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม . วิทยาสารเกษตรศาสตร์  สาขาสังคมศาสตร์   . 2 (กรกฎาคม – ธันวาคม  2535) : 157-164

            5. บรรชร    กล้าหาญและรุ่งทิพย์  กล้าหาญ . รายงานการวิจัยเรื่องการจัดกระบวนการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมเพื่อสร้างจิตสำนึกในเรื่องทรัพยากรน้ำให้แก่นักศึกษาอาชีวเกษตร  .คณะกรรมการการวิจัย  การศึกษา  การศาสนาและวัฒนธรรม    กระทรวงศึกษาธิการ  . 2547.

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

                              ภาคผนวก

 

 

 

 

  1. 1.      แบบทดสอบก่อนเรียน 
  2. 2.      แบบทดสอบหลังเรียน 
  3. 3.      แบบสังเกตพฤติกรรมผู้เรียนเป็นรายบุคคล
  4. 4.      แบบสังเกตพฤติกรรมผู้เรียนเป็นรายกลุ่ม
  5. 5.      แบบบันทึกบทวิเคราะห์ (Learning  log)
  6. 6.      แนวทางการสอนด้วยเทคนิค  Matrix
  7. 7.      แนวทางการสอนด้วยเทคนิค LCA
  8. 8.      แนวทางการสอนด้วยเทคนิค  Fish  bone
  9. 9.      แนวทางการสอนด้วยบทปฏิบัติการ

10.  แนวทางการสอนด้วยเทคนิค  AIC

 

 

 

 

 

 

 

1. แบบทดสอบก่อนเรียน

เรื่อง  ความตระหนัก  จิตสำนึกและพฤติกรรมต่อสิ่งแวดล้อม

คำชี้แจง  :

  1. แบบสอบถามนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความตระหนัก   จิตสำนึก  และพฤติกรรมการ

ปฏิบัติต่อสิ่งแวดล้อมของนิสิต

  1. ข้อมูลที่ได้จากการตอบแบบสอบถามจะนำเสนอในภาพรวม   ดังนั้นการตอบแบบสอบถาม

นี้ จะไม่ก่อให้เกิดผลกระทบใด ๆ แก่นิสิตทั้งสิ้น  จึงขอให้ตอบตามความจริงเกี่ยวกับท่านมากที่สุด

3.  แบบสอบถามนี้ประกอบด้วย  3  ตอนได้แก่

            ตอนที่  1  ความตระหนักต่อสถานการณ์สิ่งแวดล้อม

            ตอนที่  2  จิตสำนึกต่อสิ่งแวดล้อม

            ตอนที่  3  พฤติกรรมการใช้และการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม

 

ตอนที่  1  ความตระหนักต่อสถานการณ์สิ่งแวดล้อม

คำชี้แจง : โปรดทำเครื่องหมาย / ลงในช่องที่ตรงกับความคิดเห็นของท่าน

ข้อความ
ระดับความคิดเห็น

มากที่สุด

มาก

ปานกลาง

น้อย

น้อยที่สุด

1. สถานการณ์สิ่งแวดล้อมกำลังเป็นปัญหาที่จำเป็นแก้ไขโดยเร่งด่วน

 

 

 

 

 

2. ควรปลูกพืชตระกูลถั่วทิ้งไว้ในนาดีกว่าการปล่อยที่ดินให้ว่างเปล่า

 

 

 

 

 

3. ควรมีการกำหนดมาตรการในการจับหรือล่าสัตว์ชนิดต่าง ๆ อย่างชัดเจน

 

 

 

 

 

4. การวางแผนใช้ประโยชน์จากที่ดินเป็นสิ่งที่จำเป็นมาสำหรับประเทศไทยในปัจจุบัน

 

 

 

 

 

5. หญ้าที่ขึ้นรกรุงรังควรกำจัดได้โดยการจุดไฟเผาในช่วงที่อากาศแห้งแล้ง

 

 

 

 

 

6. การดน้ำต้นไม้ควรเปิดน้ำไหลแรง ๆ ให้ไหลท่วมผิวหน้าดินมาก

 

 

 

 

 

7. ประเทศไทยยังมีปริมาณน้ำมาเพื่อผลิตกระแสไฟฟ้า  จึงไม่จำเป็นต้องมีการประหยัดไฟฟ้า

 

 

 

 

 

ข้อความ
ระดับความคิดเห็น

มากที่สุด

มาก

ปานกลาง

น้อย

น้อยที่สุด

8. การใช้น้ำมันไร้สารตะกั่วสามารถลดมลพิษทางอากาศได้

 

 

 

 

 

9. โรงงานอุตสาหกรรมควรตั้งอยู่นอกตัวเมือง

 

 

 

 

 

10.ควรมีการรณรงค์เลิกใช้กล่องโฟมในการบรรจุอาหาร

 

 

 

 

 

11.การขับขี่ยานพาหนะที่ได้รับการตกแต่งพิเศษให้มีเสียงดังมากเป็นสิทธิส่วนบุคคลที่ปฏิบัติได้

 

 

 

 

 

12. สถานเริงรมย์ต่าง ๆ ควรมีระบบการป้องกันเสียงรบกวนแก่ผู้อยู่ข้างเคียง

 

 

 

 

 

13. การเลือกซื้อสินค้าชนิดเติม (Refill) เป็นการช่วยลดปริมาณขยะลงได้

 

 

 

 

 

14. ขยะมูลฝอยไม่จำเป็นต้องคัดแยกก่อนทิ้ง

 

 

 

 

 

15.ภาชนะบรรจุสารพิษที่ใช้หมดแล้วควรกำจัดโดยการเผา

 

 

 

 

 

16. ห้องเรียนควรติดตั้งเครื่องปรับอากาศเพื่อความเย็นสบาย

 

 

 

 

 

17. การใช้ยาฆ่าแมลงก่อให้เกิดผลกระทบต่อสิ่ง

แวดล้อม

 

 

 

 

 

18. ทรัพยากรในโลกนี้มีจำกัด จึงควรใช้อย่างคุ้มค่าและแบ่งสรรให้ทุกคนได้มีโอกาสในการใช้

 

 

 

 

 

19. เราคือส่วนหนึ่งของธรรมชาติ ดังนั้นเราควรอยู่รวมกับสิ่งแวดล้อมแบบเกื้อกูล

 

 

 

 

 

20.เราทุกคนสามารถประพฤติตนเป็นตัวอย่างในเรื่องการป้องกันการเกิดปัญหาสิ่งแวดล้อม

 

 

 

 

 

 

ตอนที่  2  จิตสำนึกต่อสิ่งแวดล้อม

คำชี้แจง  ให้นิสิตพิจารณาข้อคำถามต่อไปนี้ และทำเครื่องหมาย X ทับตัวอักษร  ก ,ข , ค , ง ที่ตรงกับความรู้สึกที่แท้จริงของนิสิต

  1. เมธา  :  สัปดาห์ก่อน ผมไปเที่ยวสวนสัตว์ เห็นเด็กคนหนึ่งเอาถุงพลาสติกโยนทิ้งในบ่อฮิปโปเตมัส

เกรียงไกร :…..?

หากนิสิตเป็นเกรียงไกร   นิสิตจะคิดอย่างไร

ก.      ทำไมเขาทำอย่างนั้นนะ

ข.      การรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม  ต้องมีการให้ความรู้ความเข้าใจแก่เด็กเกี่ยวกับการอนุรักษ์

สิ่งแวดล้อม

ค.      ผมคิดว่า  จะทำให้น้ำเสียและอาจทำให้ฮิปโปเตมัสตาย

ง.       ไม่น่าเลยนะ ถ้ามีโอกาสเราควรจะบอกเด็กคนนั้นว่า  ไม่ควรทำอย่างนั้น

  1. อาวรณ์กำลังยืนอยู่ที่บ่อน้ำแห่งหนึ่ง และเป็นบ่อน้ำเพียงบ่อเดียวเท่านั้นที่มีอยู่ในชุมชนนี้

อาวรณ์  :  สมคิด  ดูซิหมู่บ้านเรากำลังไม่มีน้ำใช้อยู่แล้วนะ

สมคิด:  …..?

ถ้านิสิตเป็นสมคิด  นิสิตจะตอบอาวรณ์ว่าอย่างไร

ก.      แล้วพวกเราจะทำอย่างไรกันดีละ

ข.      นั่นซิ  งั้นเราไปบอกคนในหมู่บ้านให้ช่วยกันประหยัดน้ำ

ค.      ก็เพราะพวกเราพากันตัดไม้ทำลายป่า  จึงไม่มีน้ำใช้

ง.       เราควรใช้น้ำอย่างประหยัดและใช้ประโยชน์จากนั้นให้มากที่สุด

  1. เรืองฤทธิ์  :  เมื่อวานนี้ฉันดูข่าวโทรทัศน์  เขารายงานว่า เกิดน้ำท่วมและดินถล่มที่อำเภอวังชิ้น จังหวัดแพร่  บ้านเรือนเสียหาย มีคนตายหลายคน

แดง  :   …….?

ถ้านิสิตเป็นแดง  นิสิตจะตอบเรืองฤทธิ์ว่าอย่างไร

ก.      ฉันก็ดูข่าวนี้เหมือนกัน

ข.      น่าสงสารนะ  ไร่นาก็ถูกน้ำท่วม บ้านเรือนก็พังเสียหาย บางคนก็สูญเสียญาติมิตร

ค.      เพราะประชาชนที่นั่น  ทำลายป่า  เมื่อฝนตกหนักจึงทำให้เกิดเหตุการณ์อย่างนี้

ง.       เราไม่ควรตัดไม้ทำลายป่า  เพราะจะทำให้เกิดน้ำท่วมได้

4.  ในวันที่  5  มิถุนายน ของทุกปี  ได้ถูกกำหนดเป็นวันสิ่งแวดล้อมโลก เพื่อเป็นการกระตุ้นให้ผู้คนได้เกิดความตระหนักถึงปัญหาสิ่งแวดล้อมในด้านต่าง ๆ และร่วมมือกันแก้ไขปรับปรุงให้ดีขึ้น

โอภาส   :  ในวันที่  5 มิถุนายนซึ่งเป็นวันสิ่งแวดล้อมโลก คุณคิดว่า  เราจะอะไรกันดี

เรืองวิทย์   :   …………?

ถ้านิสิตเป็นเรืองวิทย์  นิสิตจะตอบโอภาสว่าอย่างไร

ก.      ฉันยังไม่รู้เลย

ข.      เราน่าจะเชิญชวนให้คนในหมู่บ้านเราช่วยกันรักษาสิ่งแวดล้อม

ค.      เราควรปลูกต้นไม้คนละหนึ่งต้น เพื่อรักษาสิ่งแวดล้อม

ง.       เราควรช่วยกันปลูกต้นไม้และทำความสะอาดแม่น้ำลำคลอง

5. ภานุวัตร  :  ชมรมสิ่งแวดล้อม กำลังรณรงค์เรื่องการรักษาสิ่งแวดล้อม     เขาจะจัดประกวดคำขวัญด้วยนะ  ผมคิดว่า  จะส่งคำขวัญร่วมประกวดด้วย  แล้วคุณละนคร

นคร  :…..?

ถ้านิสิตเป็นนคร  นิสิตจะตอบภานุวัตรว่าอย่างไร

ก.      หมดเขตส่งคำขวัญเมื่อไหร่

ข.      ผมก็จะส่งคำขวัญด้วย  เพื่อเป็นการเตือนคนที่ทำลายแหล่งน้ำ

ค.      ผมก็สนใจอยากส่งบ้าง เพื่อช่วยกันให้ทุกคนรู้ถึงความสำคัญของทรัพยากรน้ำ

ง.       การเขียนคำขวัญเป็นส่วนหนึ่งที่ช่วยในการอนุรักษ์แหล่งน้ำ

6.สะอาด  :  นี่ฉัตรชัย  คุณรู้ไหมว่า  สาเหตุที่ลำคลองบ้านเราเน่าเหม็นเพราะโรงงานปล่อยน้ำเสียออกมาสู่ลำคลอง

ฉัตรชัย  :…………?

ถ้านิสิตเป็นฉัตรชัย  นิสิตจะตอบสะอาดว่าอย่างไร

ก.      ใช่  โรงงานไม่น่าปล่อยน้ำเสียลงลำคลองเลย

ข.      โรงงานน่าจะไปตั้งที่อื่น  ซึ่งห่างไกลหมู่บ้าน

ค.      ผมว่า อีกไม่นานแม่น้ำลำคลองก็เน่าเหม็นมากขึ้น

ง.       ปัญหาสิ่งแวดล้อมจะหมดไป  ถ้าเราทุกคนมีความรับผิดชอบ

7.สมชาย  :  นี่  สมบูรณ์ มหาวิทยาลัยเราได้ตั้งชมรมสิ่งแวดล้อม  ผมคิดว่า จะไปสมัครเป็นสมาชิก แล้วสมบูรณ์จะสมัครด้วยหรือเปล่า

สมบูรณ์ : ………..?

ถ้านิสิตเป็นสมบูรณ์   นิสิตจะตอบสมชายว่าอย่างไร

ก.      ชมรมอนุรักษ์น้ำ  จะเปิดรับสมาชิกจริงหรือ

ข.      สมัครซิ  เพราะผมอยากเป็นสมาชิกมานานแล้ว

ค.      สมัครซิ  เราจะได้มีส่วนร่วมในการอนุรักษ์น้ำด้วย

ง.       การสมัครเป็นสมาชิกอย่างน้อย  อาจจะมีการทำกิจกรรมที่ช่วยอนุรักษ์น้ำได้

8. เวลาที่นักศึกษาทุกคนออกจากห้องเรียน   มนัสจะเป็นผู้ปิดพัดลมก่อนออกจาห้องเรียนทุกครั้ง

    เอกชัย  :  นพรัตน์ คุณดูสิ มนัสเขาจะเป็นผู้ปิดพัดลมทุกครั้งเวลาที่พวกเราออกจากห้องเรียน

    นพรัตน์ :…?

หากนิสิตเป็นนพรัตน์  นิสิตจะตอบเอกชัยว่าอย่างไร

ก.      จริงซินะ มนัสเขาเป็นผู้ปิดจริง ๆ ด้วย

ข.      ก็ดีซิ  ประหยัดไฟฟ้า

ค.      เราควรทำอย่างมนัส เพราะพัดลมเป็นของส่วนร่วมที่เราควรช่วยกันรักษา

ง.       ทรัพยากรธรรมชาติเหลือน้อยมาก ดังนั้นเราจึงควรช่วยกันประหยัด

9. มานะ  :  นี่ สมชาย ปีนี้เขาพยากรณ์ว่า อากาศจะร้อนกว่าปีที่แล้ว

    สมชาย :…..?

    หากนิสิตเป็นสมชาย  นิสิตจะตอบมานะว่าอย่างไร

ก.      ถ้าร้อนกว่าปีที่แล้วเราคงแย่แน่

ข.      จริงสิ  เพราะได้ยินเขาพูดกันว่า  ประเทศไทยกำลังแห้งแล้งมาก

ค.      เพราะไม่มีต้นไม้  จึงทำให้ไม่มีร่มเงา และฝนไม่ตก  อากาศจึงร้อน

ง.       เราต้องช่วยกันปลูกต้นไม้ให้มากขึ้นเพื่อให้ฝกตกตามฤดูกาล  ซึ่งจะทำให้อากาศไม่ร้อน

10. สมชาติ : ณรงค์ คุณดูรถยนต์คันนั้นซิ  ปล่อยควันดำฟุ้งไปหมดเลย

      ณรงค์  :  …..?

      หากนิสิตเป็นณรงค์  นิสิตจะตอบสมชาติอย่างไร

ก.      จริงด้วยผมก็เห็นว่าควันดำฟุ้งเต็มหมดเลย

ข.      จริงด้วย  ทำไมเขาไม่ใช้น้ำมันไร้สารตะกั่ว

ค.      เพราะการปล่อยให้เกิดควันดำมาก จึงทำให้เกิดมลพิษของสิ่งแวดล้อม

ง.       คนที่ใช้รถ ควรหมั่นตรวจเช็ครถของตนเอง ซึ่งจะช่วยลดมลพิษทางอากาศได้

11. นพดล :   วันนี้รถติดมาก และคนขับรถก็พากันบีบแตรส่งเสียงดังหนวกหู

      ไพบูลย์  : ….. ?

       หากนิสิตเป็นไพบูลย์   นิสิตจะตอบนพดลอย่างไร

ก.      จริงด้วยผมก็รำคาญเหมือนกัน

ข.      คนสมัยนี้ไม่ค่อยรู้จักเกรงใจคนอื่น

ค.      การบีบแตรดัง ๆ แบบนี้ทำให้หูตึงได้

ง.       เสียงดังแบบนี้  เป็นอันตรายต่อสุขภาพกายและสุขภาพจิตนะ

12. อาทิตย์  :  เดี๋ยวนี้ ดินบ้านเราไม่ค่อยอุดมสมบูรณ์เหมือนเมื่อก่อน ปลูกอะไรก็ไม่ได้ผลดีหรือเป็น

                      เพราะเราใช้ปุ๋ยวิทยาศาสตร์กันมากนะ 

      เจริญ  :  …..?

      หากนิสิตเป็นเจริญ  นิสิตจะตอบอาทิตย์อย่างไร

ก.      คงจะใช่

ข.      ก็ลองน่าจะใช้ปุ๋ยคอกดูนะ

ค.      ใช่เพราะปุ๋ยวิทยาศาสตร์ทำให้ดินมีสภาพเป็นกรด

ง.       การใช้ปุ๋ยต้องรู้จักวิธีการใช้ที่ถูกต้อง  จึงจะเป็นผลดี

13. ฉัตรชัย  :  นพพร  คุณดูร้านอาหารนี้ซิ ใช้แต่กล่องโฟมบรรจุอาหารทั้งนั้นเลย

      นพพร  :  ?

      หากนิสิตเป็นพนพร  นิสิตจะตอบฉัตรชัยว่าอย่างไร

ก.      ร้านอาหารที่คุณว่า ชื่อร้านอะไร

ข.      ผมว่า  ตอนนี้เขายังอาจมองไม่เห็นโทษของการใช้โฟม

ค.      ไม่ดีเลยนะเพราะการใช้โฟมเป็นอันตรายต่อสุขภาพของเรา

ง.       โฟมย่อยสลายยาก  เราน่าจะใช้ภาชนะอื่นในการบรรจุอาหารแทนโฟมนะ

14. สุชาติกับสมภพ  นั่งดูโทรทัศน์ด้วยกัน

สุชาติ :  น่าสงสารช้างพวกนี้มากเลยนะ เพราะต้องถูกฆ่าเพื่อเอางา

สมภาพ  : ….. ?

หากนิสิตเป็นสมภาพ   นิสิตจะตอบสุชาติอย่างไร

ก.      ใช่  ผมก็ว่า  น่าสงสารมาก

ข.      ผมว่าหากปล่อยเป็นอย่างนี้   อีกไม่นานช้างป่าคงหมดแน่นอน

ค.      ทุกวันนี้ช้างป่าลดจำนวนลงมาก เพราะความเห็นแก่ตัวของมนุษย์บางกลุ่ม

ง.       พวกเราควรให้ความรักและเมตตาต่อสัตว์ เพื่อเป็นการรักษาสิ่งแวดล้อม

15. บุญชู  : ผมอ่านหนังสือเรื่องสิ่งแวดล้อม  เขาบอกว่า การฉีดย่าฆ่าแมลงอย่างไม่ระวังจะทำให้สัตว์ที่

                  มีประโยชน์พลอยตายไปด้วย

     มาโนช์  :   ….?

     หากนิสิตเป็นมาโนช  นิสิตจะตอบบุญชูอย่างไร

ก.      ทำไมต้องฉีดยาฆ่าแมลงกันด้วยนะ

ข.      จริงซิ  ผมก็เคยพูดกับพ่อแม่ว่า การฉีดยาฆ่าแมลงเป็นอันตรายต่อสิ่งแวดล้อม

ค.      ผมเห็นด้วยเพราะสัตว์หลายชนิดทำให้ดินอุดมสมบูรณ์และช่วยกำจัดศัตรูพืช

ง.       ผมคิดว่า  สิ่งที่สำคัญคือ ความรู้  ความเข้าใจและการปฏิบัติที่ถูกต้องในการใช้ยาฆ่าแมลง

ตอนที่  3  พฤติกรรมการปฏิบัติในการใช้และอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม

คำชี้แจง : โปรดทำเครื่องหมาย / ลงในช่องที่ตรงกับการปฏิบัติที่เป็นจริงของท่าน

ข้อความ
ระดับการปฏิบัติ

มากที่สุด

มาก

ปานกลาง

น้อย

น้อยที่สุด

1. ท่านมักจะปิดไฟฟ้าทุกครั้งที่เข้านอนและออกจากห้องพัก

 

 

 

 

 

2. ท่านมักจะถอดปลั๊กเครื่องใช้ไฟฟ้าออกเมื่อท่านเลิกใช้แล้ว

 

 

 

 

 

3. ท่านมักจะเปิดวิทยุหรือโทรทัศน์ดัง ๆ

 

 

 

 

 

4. ท่านมักจะรับประทานอาหารจนหมดจาน

 

 

 

 

 

5. ท่านมักจะเปิดน้ำทิ้งในขณะแปรงฟัน

 

 

 

 

 

6. ท่านมักจะเปิดน้ำจนไหลล้นอ่างในขณะซักผ้า

 

 

 

 

 

7. ท่านมักจะใช้กระดาษทุกหน้าอย่างคุ้มค่า

 

 

 

 

 

8. ท่านมักจะเลือกใช้วิธีการกำจัดศัตรพืชโดยวิธีการชีวภาพมากกว่าการใช้สารเคมี

 

 

 

 

 

9. ท่านมักจะแยกขยะก่อนทิ้งเสมอ

 

 

 

 

 

10. ท่านมักจะช่วยเก็บขยะที่ทิ้งเรี่ยราดลงถังขยะ

 

 

 

 

 

11. ท่านมักจะแสวงหาวิธีการใช้ประโยชน์จากสิ่งเหลือใช้เช่น เศษวัสดุ

 

 

 

 

 

12.ท่านมักจะให้ความสนใจในเรื่องการปลูกต้นไม้และมักจะเข้าร่วมกิจกรรมการปลูกต้นไม้ในวันสำคัญต่าง ๆ

 

 

 

 

 

13. ท่านมักจะให้ความสนใจติดต่อข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมในลักษณะต่าง ๆ

 

 

 

 

 

14. ท่านมักจะรู้สึกไม่สบายใจเมื่อรับทราบปัญหาความเสียหายจากภัยธรรมชาติทั้งน้ำท่วมหรือภัยแล้งและมักจะนำเรื่องนี้ไปคุยกับเพื่อน ๆ

 

 

 

 

 

15.เมื่อมีโอกาสที่เหมาะสมท่านมักจะพูดคุยหรือให้ข้อคิดเรื่องสิ่งแวดล้อมแก่บุคคลอื่น/คนในครอบครัว

 

 

 

 

 

2. แบบทดสอบหลังเรียน

เรื่อง  ความตระหนัก  จิตสำนึกและพฤติกรรมต่อสิ่งแวดล้อม

คำชี้แจง  :

  1. แบบสอบถามนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความตระหนัก   จิตสำนึก  และพฤติกรรมการ

ปฏิบัติต่อสิ่งแวดล้อมของนิสิต

  1. ข้อมูลที่ได้จากการตอบแบบสอบถามจะนำเสนอในภาพรวม   ดังนั้นการตอบแบบสอบถาม

นี้ จะไม่ก่อให้เกิดผลกระทบใด ๆ แก่นิสิตทั้งสิ้น  จึงขอให้ตอบตามความจริงเกี่ยวกับท่านมากที่สุด

3.  แบบสอบถามนี้ประกอบด้วย  3  ตอนได้แก่

            ตอนที่  1  ความตระหนักต่อสถานการณ์สิ่งแวดล้อม

            ตอนที่  2  จิตสำนึกต่อสิ่งแวดล้อม

            ตอนที่  3  พฤติกรรมการใช้และการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม

                        ตอนที่   4  ความพึงพอใจต่อการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม

ตอนที่  1  ความตระหนักต่อสถานการณ์สิ่งแวดล้อม

คำชี้แจง : โปรดทำเครื่องหมาย / ลงในช่องที่ตรงกับความคิดเห็นของท่าน

ข้อความ
ระดับความคิดเห็น

มากที่สุด

มาก

ปานกลาง

น้อย

น้อยที่สุด

1. สถานการณ์สิ่งแวดล้อมกำลังเป็นปัญหาที่จำเป็นแก้ไขโดยเร่งด่วน

 

 

 

 

 

2. ควรปลูกพืชตระกูลถั่วทิ้งไว้ในนาดีกว่าการปล่อยที่ดินให้ว่างเปล่า

 

 

 

 

 

3. ควรมีการกำหนดมาตรการในการจับหรือล่าสัตว์ชนิดต่าง ๆ อย่างชัดเจน

 

 

 

 

 

4. การวางแผนใช้ประโยชน์จากที่ดินเป็นสิ่งที่จำเป็นมาสำหรับประเทศไทยในปัจจุบัน

 

 

 

 

 

5. หญ้าที่ขึ้นรกรุงรังควรกำจัดได้โดยการจุดไฟเผาในช่วงที่อากาศแห้งแล้ง

 

 

 

 

 

6. การดน้ำต้นไม้ควรเปิดน้ำไหลแรง ๆ ให้ไหลท่วมผิวหน้าดินมาก

 

 

 

 

 

7. ประเทศไทยยังมีปริมาณน้ำมาเพื่อผลิตกระแสไฟฟ้า  จึงไม่จำเป็นต้องมีการประหยัดไฟฟ้า

 

 

 

 

 

ข้อความ
ระดับความคิดเห็น

มากที่สุด

มาก

ปานกลาง

น้อย

น้อยที่สุด

8. การใช้น้ำมันไร้สารตะกั่วสามารถลดมลพิษทางอากาศได้

 

 

 

 

 

9. โรงงานอุตสาหกรรมควรตั้งอยู่นอกตัวเมือง

 

 

 

 

 

10.ควรมีการรณรงค์เลิกใช้กล่องโฟมในการบรรจุอาหาร

 

 

 

 

 

11.การขับขี่ยานพาหนะที่ได้รับการตกแต่งพิเศษให้มีเสียงดังมากเป็นสิทธิส่วนบุคคลที่ปฏิบัติได้

 

 

 

 

 

12. สถานเริงรมย์ต่าง ๆ ควรมีระบบการป้องกันเสียงรบกวนแก่ผู้อยู่ข้างเคียง

 

 

 

 

 

13. การเลือกซื้อสินค้าชนิดเติม (Refill) เป็นการช่วยลดปริมาณขยะลงได้

 

 

หมายเลขบันทึก: 435724เขียนเมื่อ 17 เมษายน 2011 23:57 น. ()แก้ไขเมื่อ 13 มิถุนายน 2012 19:56 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-อนุญาตแบบเดียวกันจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท