7 เรื่องที่พยาบาลต้องรู้ก่อนจะดูแลผู้ป่วย สไตล์อาจารย์ภาณุ


7 เรื่องที่พยาบาลต้องรู้ก่อนจะดูแลผู้ป่วย โดยภาณุ อดกลั้น

7 เรื่องที่พยาบาลต้องรู้ก่อนจะดูแลผู้ป่วย สไตล์อาจารย์ภาณุ

  1. ประวัติผู้ป่วย

①        อาการสำคัญ(Chief complain)

②        ประวัติการเจ็บป่วยปัจจุบัน(Present illness)

③        ประวัติการเจ็บป่วยในอดีต(Past history)

④        ประวัติการแพ้ต่างๆ(allergy)

⑤        ประวัติครอบครัว(Family history)

⑥        อื่นๆที่เกี่ยวข้อง(Other)

2.การประเมินผู้ป่วย

①        ประเมินลักษณะทั่วไป(General appearance)

②        ประเมินระบบประสาท(Neuro signs)

n  Consciousness & Response

n  Glasgrow coma score(GCS)

n  Pupils (shape & size & Reac to light)

n  Muscle tone & power

n  Reflex

③        ประเมินสัญญาณชีพ(Vital signs)

n  อุณหภูมิ(Temp.)

n  ชีพจร(pulse)

n  การหายใจ(Respiration)

n  ความดันโลหิต(Blood Pressure)

④        ตรวจร่างกายทุกระบบ(Head to toe evaluation)

n  SKIN

n  Head & Neck

n  EENT

n  Lung

n  Heart

n  GI

n  Lymph node

n  Reproductive

n  Bone & Muscle

⑤            ประเมินความสอดคล้องของการทำหน้าที่ของร่างกาย

3. ลักษณะความเจ็บป่วย

①        Physiology

②        Psychology

4. การวินิจฉัยโรค

①        Laboratory

n  Blood

n  Urine

n  CSF

n  Sputum

n  Pus

②        X-Ray

n  X-Ray

n  Ultrasound

n  CT

n  MRI

③        Scope

n  gastro/colonoscope

n  Bronchoacope

5. การรักษาโรค

①        Medical Therapy

②        surgical Therapy

③        Physical Therapy

④        Radiation & Laser Therapy

⑤        Psycho Therapy

⑥        Alternative Therapy

6. การพยาบาล

①        Assessment

n  Subjective Data

n  Objctive Data

②        Nursing Diagnosis

n  1.Activity/Rest  กิจกรรม/การพักผ่อน

ความทนต่อการทำกิจกรรมลดลง

ความเหนื่อยล้า

การเคลื่อนไหวบกพร่อง

แบบแผนการนอนหลับเปลี่ยนแปลง

n  2.Circulationการไหลเวียนโลหิต

ปริมาณเลือดออกจากหัวใจลดลง

การกำซาบของเนื้อเยื่อไม่มีประสิทธิภาพ

การปรับตัวของความดันในกระโหลกศีรษะลดลง/เพิ่มขึ้น

n  3.Ego Integrityความสมบูรณ์ของจิตใจ/อารมณ์

วิตกกังวล

สูญเสียภาพลักษณ์

ขัดแย้งต่อการตัดสินใจ

การเผชิญปัญหาไม่มีประสิทธิภาพ

ความกลัว / ความสูญเสีย

ความโศกเศร้า/สิ้นหวัง

n  4.Elimination การขับถ่าย

กลั้นอุจจาระ/ปัสสาวะไม่อยู่

ท้องผูก

ท้องเดิน

ปัสสาวะคั่ง

ทางเดินปัสสาวะ/อุจจาระสูญเสียหน้าที่

n  5.Food/Fluid อาหารและน้ำ

ภาวะพร่องสารน้ำ/ภาวะน้ำเกิน

ภาวะได้รับสารอาหารไม่เพียงพอ

ภาวะคลื่นไส้/อาเจียน

n  6.Hygiene สุขอนามัยส่วนบุคคล

พร่องในการดูแลตนเองเกี่ยวกับความสะอาด

พร่องในการดูแลตนเองเกี่ยวกับการรับประทาน

พร่องในการดูแลตนเองเกี่ยวกับการแต่งตัว

พร่องในการดูแลตนเองเกี่ยวกับ....................

n  7.Neurosensory การรับรู้และประสาทสัมผัส

ความสับลสนเฉียบพลัน/เรื้อรัง

สูญเสียความทรงจำ

หลงลืม

กระบวนการคิดถูกรบกวน

การรับรู้ถูกรบกวน

n  8.Pain/Discomfort ความเจ็บปวด/ไม่สุขสบาย

ปวดเฉียบพลัน

ปวดเรื้อรัง

n  9.Respiration การหายใจ

ประสิทธิภาพการทำทางเดินหายใจโล่งลดลง

ประสิทธิภาพการแลกเปลี่ยนก๊าซลดลง

รูปแบบการหายใจไม่มีประสิทธิภาพ

ไม่สามารถหย่าเครื่องช่วยหายใจ

n  10.Safety ความปลอดภัย

ปฏิกิริยาภูมิแพ้ต่อ............

เสี่ยงต่อ................

n  11.Sexuality  อนามัยทางเพศและการเจริญพันธ์

ไม่สามารถปฏิบัติเกี่ยวกับเพศสัมพันธ์

มีสารคัดหลั่งผิดปกติออกจากอวัยวะเพศ

มีการเปลี่ยนแปลงแบบแผนการมีเพศสัมพันธ์

n  12.Social Interaction ปฎิสัมพันธ์ทางสังคม

ถูกบีบคั้นจากบทบาทการดูแลผู้ป่วย

สัมพันธภาพที่บกพร่องระหว่าง...........

ครอบครัวไม่สามารถเผชิญปัญหาได้

การดูแลของผู้ปกครองบกพร่องทำให้...........

n  13.Teaching/Learning การเรียนรู้

พัฒนาการช้า/ไม่เหมาะสมกับช่วงวัย

พฤติกรรมการแสวงหาความรู้ด้านสุขภาพไม่เหมาะสม

ขาดประสิทธิภาพในการเก็ยข้อมูล/การตัดสินใจ

③        planning

④        Implementation

⑤        Evaluation

7. การดูแลต่อเนื่องที่บ้าน

①        ผู้ป่วย(Patient)

②        ญาติ หรือผู้ดูแล(Caregiver)

③        ชุมชน(Community)

④            หน่วยบริการสุขภาพในชุมชน

องค์การปกครองส่วนท้องถิ่น

หมายเลขบันทึก: 433176เขียนเมื่อ 28 มีนาคม 2011 22:03 น. ()แก้ไขเมื่อ 20 มิถุนายน 2012 22:22 น. ()สัญญาอนุญาต: สงวนสิทธิ์ทุกประการจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (1)
พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท