ตัวอย่างการวิเคราะห์หน่วยการเรียนรู้ rubric assessment


ตัวอย่างการวิเคราะห์หน่วยการเรียนรู้ rubric assessment

ตัวอย่างการวิเคราะห์หน่วยการเรียนรู้และเวลาเรียน โดยครูสิริวัฒน์ ทองเลิศ

รหัส  30001201  วิชา ทักษะพัฒนาเพื่อการสื่อสารภาษาอังกฤษ 1
ระดับชั้น  ปวส.    ประเภทพาณิชยกรรม   จำนวน     3     ชั่วโมง/สัปดาห์

ครั้งที่ 

สัปดาห์ที่ 

ชื่อหน่วยการเรียนรู้

จำนวน

แผนการสอน

จำนวน

ชั่วโมง

1

2

3

4-5

6

7

8

9

10

11

12

13

14

15

16-17

18-19

20

1

2

3

4-5

6

7

8

9

10

11

12

13

14

15

16-17

18-19

20

   Unit  1 : Introducing yourself and others

   Unit  2 : Reception

   Unit  3 : Making a phone call

   Unit  4 : Telephone message

   การวัดผลและประเมินผลครั้งที่  1

   Unit  5 : Receiving call

   Unit  6 : Salesmanship

   Unit  7 : Asking about prices

   Unit  8 : Presentation of goods

   การวัดผลและประเมินผลครั้งที่  2

   Unit  9 : Filling in information

   Unit 10: Giving direction

   Unit 11: Transportation

   การวัดผลและประเมินผลครั้งที่  3

   Unit 12: Job Application & Resume

   Unit 13: Job Interview

   การวัดผลและประเมินผลครั้งที่  4

1

1

1

2

1

1

1

1

1

1

1

1

1

1

2

2

1

3

3

3

6

3

3

3

3

3

3

3

3

3

3

6

6

3

รวม

20

60

การวิเคราะห์น้ำหนักคะแนนของการวัดผลและประเมินผล

รหัส  30001201 วิชา ทักษะพัฒนาเพื่อการสื่อสารภาษาอังกฤษ 1

ชั้น  ปวส.  ประเภทพาณิชยกรรม     จำนวน     3     ชั่วโมง/สัปดาห์

 

หน่วยที่

ชื่อหน่วยการเรียนรู้

น้ำหนักคะแนน

คิดเป็นร้อยละ

หมายเหตุ

1

2

3

4

-

5

6

7

8

-

9

10

11

-

12

13

-

   Unit  1 : Introducing yourself and others

   Unit  2 : Reception

   Unit  3 : Making a phone call

   Unit  4 : Telephone message

   การวัดผลและประเมินผลครั้งที่  1

   Unit  5 : Receiving call

   Unit  6 : Salesmanship

   Unit  7 : Asking about prices

   Unit  8 : Presentation of goods

   การวัดผลและประเมินผลครั้งที่  2

   Unit  9 : Filling in information

   Unit 10: Giving direction

   Unit 11: Transportation

   การวัดผลและประเมินผลครั้งที่  3

   Unit 12: Job Application & Resume

   Unit 13: Job Interview

   การวัดผลและประเมินผลครั้งที่  4

-

5

5

5

10

5

5

5

5

10

5

5

5

10

5

5

10

 

รวม

100

 

 หมายเหตุ : Unit 1  ไม่ได้ตั้งค่าน้ำหนักคะแนนไว้     เนื่องจากเป็นการแสดงความรู้จักครั้งแรกและสร้างความคุ้นเคยระหว่างนักศึกษากับครูโดยมีการวางแผนการเรียนร่วมกันและแนะนำ  แหล่งการเรียนรู้ที่จะค้นหาได้ด้วยตนเอง  ตลอดจนชี้แจงวิธีการและเกณฑ์การวัดผลประเมินผลของรายวิชานี้

 

 ตัวอย่างแนวทางการวัดผลและประเมินผล

รหัส  30001201วิชา         ทักษะพัฒนาเพื่อการสื่อสารภาษาอังกฤษ 1
ระดับชั้น           ปวส.              ประเภทพาณิชยกรรม         จำนวน  3  ชั่วโมง/สัปดาห์

----------------------------------------------------------------------------------------------

การวัดผลและประเมินผล

               ใช้แนวทางการวัดผลและประเมินผลตามสภาพจริง (Authentic Assessment)ให้สังเกตพัฒนาการความก้าวหน้าของผู้เรียน  ครอบคลุมทั้งสามด้าน  ได้แก่  ( 1 )  ด้านพุทธิพิสัย   ( 2 )  ด้านทักษะพิสัย   และ( 3 )  ด้านจิตพิสัย   คุณธรรม จริยธรรม    ค่านิยม  และคุณลักษณะที่พึงประสงค์  จึงหาแนวทางการวัดผลและประเมินผลมีรายละเอียดดังนี้

              (  1  )   ด้านพุทธิพิสัย   มุ่งเน้นวัดความรู้  ความเข้าใจ  การนำไปใช้    การคิดวิเคราะห์ คิดสังเคราะห์ และการประเมินค่า สิ่งดังกล่าวได้บรรจุไว้ในแบบทดสอบของแต่ละหน่วยการเรียนรู้   และจากแบบประเมินการปฏิบัติกิจกรรมกลุ่ม/รายบุคคล( Rubric Assessment )ที่สร้างขึ้น  ตลอดจนสร้างแบบทดสอบวัดผลและประเมินผลหลังจากได้ศึกษาหน่วยการเรียนแล้ว 3-4 หน่วย เพื่อวัดผลผลและประเมินผลความก้าวหน้าเป็นระยะๆ  จึงได้วัดผลและประเมินผลถึง  4  ครั้ง ต่อภาคเรียน

              (  2  )   ด้านทักษะพิสัย   เน้นการสนทนา  การสื่อสารที่ต้องการให้ผู้เรียนนำไปใช้ได้ในชีวิตประจำวันได้อย่างมั่นใจ     สังเกตพฤติกรรมจากแบบประเมินการปฏิบัติกิจกรรมกลุ่ม /   รายบุคคลที่สร้างขึ้น   และคิดคะแนนรวมกับแบบทดสอบของแต่ละหน่วยการเรียนรู้  (คะแนนนี้ ได้จากการฝึกสนทนา   และชิ้นงานที่มอบหมาย ) 

              (  3  )   ด้านจิตพิสัย  เน้นในด้านคุณภาพ   จริยธรรม  ค่านิยม  และคุณลักษณะที่     พึงประสงค์ของผู้สำเร็จอาชีวศึกษาตามหลักสูตร ปวส.  คิดคะแนนรวมกับแบบทดสอบของแต่ละหน่วยการเรียนรู้  (จากแบบประเมินการปฏิบัติกิจกรรมกลุ่ม / รายบุคคลที่สร้างขึ้น)

 

 แบบประเมินการปฏิบัติกิจกรรมกลุ่ม/ รายบุคคล  ( Rubric  Assessment )

รหัส  30001201วิชา   ทักษะพัฒนาเพื่อการสื่อสารภาษาอังกฤษ 1                                    
ระดับชั้น       ปวส.1     ประเภทพาณิชยกรรม        รวม  5  คะแนน
เรื่อง..................................กลุ่ม................................ชื่อ.....................................

แนวทางประเมินผล

ระดับคุณภาพ

รายละเอียดของตัวบ่งชี้

ผลการประเมิน

หมายเหตุ

ด้านพุทธิพิสัย

 

มุ่งวัดความรู้ความเข้าใจ   การนำไปใช้   การคิดวิเคราะห์     คิดสังเคราะห์ และประเมินค่า

 

 

ดีมาก (5)

1 ) เตรียมเนื้อหาได้สอดคล้องกับหัวข้อเรื่องอย่างถูกต้อง ชัดเจน      

2) ใช้รูปประโยค สำนวนและเขียนสะกดคำได้ถูกต้อง

3) เลือกใช้วัสดุอุปกรณ์หรือสื่อประกอบเหมาะสม

4) ปฏิบัติกิจกรรมมีลำดับขั้นตอนครบถ้วน

 

 

ดี (4)

1 ) เตรียมเนื้อหาได้สอดคล้องกับหัวข้อเรื่องอย่างถูกต้องแต่ไม่ชัดเจน

 2) ใช้รูปประโยค สำนวนและเขียนสะกดคำได้ถูกต้อง

3) เลือกใช้วัสดุอุปกรณ์หรือสื่อประกอบเหมาะสม

4) ปฏิบัติกิจกรรมมีลำดับขั้นตอนบ้าง

 

 

ปานกลาง (3)

1 )เตรียมเนื้อหาได้สอดคล้องกับหัวข้อเรื่องอย่างถูกต้อง

2) ใช้รูปประโยค สำนวนและเขียนสะกดคำถูกต้องบ้างผิดบ้าง

3) เลือกใช้วัสดุอุปกรณ์หรือสื่อประกอบบ้าง 

4) ปฏิบัติกิจกรรมมีลำดับขั้นตอนบ้าง

 

 

พอใช้ (2)

1) เตรียมเนื้อหาไม่สอดคล้องกับหัวข้อเรื่อง

2) ) ใช้รูปประโยค สำนวนและเขียนคำสะกดไม่ถูกต้อง

3) เลือกใช้วัสดุอุปกรณ์หรือสื่อประกอบบ้าง  

4) ปฏิบัติกิจกรรมมีลำดับขั้นตอนเล็กน้อย

 

 

ปรับปรุง (1)

1) เตรียมเนื้อหาไม่สอดคล้องกับหัวข้อเรื่อง

2)ใช้รูปประโยค สำนวนและเขียนคำสะกดไม่ถูกต้อง 

3) ไม่มีวัสดุอุปกรณ์หรือสื่อ   

4) ปฏิบัติกิจกรรมไม่มีลำดับขั้นตอน

 

 

ต่อ

แนวทางการประเมินผล

ระดับคุณภาพ

รายละเอียดของตัวบ่งชี้

ผลการประเมิน

หมายเหตุ

ด้านทักษะพิสัย

 

มุ่งวัดทักษะการสื่อสารการสนทนาภาษาอังกฤษ โดยการปฏิบัติจริง

 

 

ดีมาก(5)

1) พูดออกเสียงคำ ประโยคและสื่อความหมายได้ถูกต้องชัดเจน      2) สำเนียงและสำนวนถูกต้องตามเจ้าของภาษา

3) ท่าทางคล่องแคล่ว เป็นธรรมชาติ

4) มีความมั่นใจและสามารถปฏิบัติกิจกรรมได้ถูกต้อง แม่นยำ

 

 

ดี(4)

1) พูดออกเสียงคำและประโยคและสื่อความหมายได้ถูกต้องชัดเจน

2) สำเนียงและสำนวนถูกต้องตามเจ้าของภาษา

3) ท่าทางคล่องแคล่ว แต่ไม่เป็นธรรมชาติ

4)มีความมั่นใจและสามารถปฏิบัติกิจกรรมได้ถูกต้อง แม่นยำ

 

 

ปานกลาง(3)

1) พูดออกเสียงคำและประโยคและสื่อความหมายได้ถูกต้อง           2) สำเนียงและสำนวนไม่ถูกต้องตามเจ้าของภาษา 

3)ท่าทางคล่องแคล่ว แต่ไม่เป็นธรรมชาติ 

4)  มีความมั่นใจและสามารถปฏิบัติ    กิจกรรมได้ถูกต้อง

 

 

พอใช้(2)

1) พูดออกเสียงคำและสื่อความหมายได้แต่ไม่เป็นประโยค             2) สำเนียงและสำนวนไม่ถูกต้องตามเจ้าของภาษา 

3) ท่าทางคล่องแคล่ว  แต่ไม่เป็นธรรมชาติ  

4) มีความมั่นใจและสามารถปฏิบัติ    กิจกรรมได้เล็กน้อย

 

 

ปรับปรุง (1)

1) พูดออกเสียงคำและสื่อความหมายได้แต่ไม่เป็นประโยค             2)  สำเนียงและสำนวนไม่ถูกต้องตามเจ้าของภาษา

3) ท่าทางไม่คล่องแคล่ว และไม่เป็นธรรมชาติ

4) ไม่มีความมั่นใจและไม่สามารถปฏิบัติกิจกรรมได้

 

 

                     

ต่อ

แนวทางการประเมินผล

ระดับคุณภาพ

รายละเอียดของตัวบ่งชี้

ผลการประเมิน

หมายเหตุ

ด้านจิตพิสัย

มุ่งวัดคุณลักษณะด้านความรับผิดชอบ และความมีวินัยในตนเอง

 

 

ดีมาก (5)

1) มีความสนใจและตั้งใจปฏิบัติกิจกรรมได้สำเร็จถูกต้องตามกำหนดเวลา

2) มีกิริยา ท่าทางสุภาพ

3) เก็บอุปกรณ์ได้เรียบร้อยและ รักษาความสะอาดบริเวณปฏิบัติงาน

 

 

ดี (4)

1) มีความสนใจและตั้งใจปฏิบัติกิจกรรมได้สำเร็จถูกต้อง แต่ไม่ตรงตามกำหนดเวลา

2) มีกิริยา ท่าทางสุภาพ

3) เก็บอุปกรณ์ได้เรียบร้อย และรักษาความสะอาดบริเวณปฏิบัติงาน

 

 

ปานกลาง (3)

1) มีความสนใจและตั้งใจปฏิบัติกิจกรรมได้สำเร็จ แต่ไม่ถูกต้อง และไม่ตรงตามกำหนดเวลา

2) มีกิริยา ท่าทางสุภาพ

3) เก็บอุปกรณ์ และรักษาความสะอาดบริเวณปฏิบัติงานบ้างเล็กน้อย

 

 

พอใช้ (2)

1)ไม่มีความสนใจและไม่ตั้งใจปฏิบัติกิจกรรมให้สำเร็จ 

2) มีกิริยา    ท่าทางไม่สุภาพ

3) เก็บอุปกรณ์และรักษาความสะอาดบริเวณ ปฏิบัติงานบ้างเล็กน้อย

 

 

ปรับปรุง (1)

1) ไม่มีความสนใจและไม่ตั้งใจปฏิบัติกิจกรรมให้สำเร็จ

2) มีกิริยา    ท่าทางไม่สุภาพ  

3) ไม่เก็บอุปกรณ์  และไม่รักษาความสะอาดบริเวณ   ปฏิบัติงาน                                                                                            

 

 

 

                          ………………………….. ผู้ประเมิน

                             ………./…………/………

 

 

 ตัวอย่างแบบบันทึกผลการประเมินการปฏิบัติกิจกรรมกลุ่ม / รายบุคคล /รายกลุ่ม
( Analytic    Score )
รหัส  30001201    วิชา   ทักษะพัฒนาเพื่อการสื่อสารภาษาอังกฤษ 1        รวม  5  คะแนน
ระดับชั้น       ปวส.1    ประเภทพาณิชยกรรม               
                       เรื่อง……………………กลุ่ม………..........                                  

ชื่อ

ความเข้าใจ /    การคิดวิเคราะห์

กระบวนการ /

ทักษะการสื่อสาร

ความรับผิดชอบ /ผลของงาน

รวมคะแนน

ผลการประเมิน

ระดับ

1. …………….

1   2   3   4   5 

1   2   3   4   5

1   2   3   4   5

 

 

2. …………….

1   2   3   4   5

1   2   3   4   5

1   2   3   4   5

 

 

3. …………….

1   2   3   4   5

1   2   3   4   5

1   2   3   4   5

 

 

4. …………….

1   2   3   4   5

1   2   3   4   5

1   2   3   4   5

 

 

5. …………….

1   2   3   4   5

1   2   3   4   5

1   2   3   4   5

 

 

6. ……………

1   2   3   4   5 

1   2   3   4   5

1   2   3   4   5

 

 

7. …………….

1   2   3   4   5

1   2   3   4   5

1   2   3   4   5

 

 

8. …………….

1   2   3   4   5

1   2   3   4   5

1   2   3   4   5

 

 

9. …………….

1   2   3   4   5

1   2   3   4   5

1   2   3   4   5

 

 

10. …………….

1   2   3   4   5

1   2   3   4   5

1   2   3   4   5

 

 

11. ……………..

1   2   3   4   5 

1   2   3   4   5

1   2   3   4   5

 

 

12. …………….

1   2   3   4   5

1   2   3   4   5

1   2   3   4   5

 

 

13. …………….

1   2   3   4   5

1   2   3   4   5

1   2   3   4   5

 

 

14. …………….

1   2   3   4   5

1   2   3   4   5

1   2   3   4   5

 

 

15. …………….

1   2   3   4   5

1   2   3   4   5

1   2   3   4   5

 

 

 

เกณฑ์การประเมิน

คะแนน

ระดับ

13 – 15

ดีมาก

10 – 12

ดี

7 –  9

ปานกลาง

4  -  6

พอใช้

1-3

ปรับปรุง

 

………………………ผู้ประเมิน

………/……./………

 

 

เกณฑ์การให้คะแนนของแบบทดสอบเขียนตอบ (Paper-pencil test)
รหัส  30001201 วิชา  ทักษะพัฒนาเพื่อการสื่อสารภาษาอังกฤษ 1        
ระดับชั้น       ปวส.1               ประเภทพาณิชยกรรม     รวม  5  คะแนน
เรื่อง...................กลุ่ม ..........................ชื่อ.................................

 

แนวทางการประเมินผล

ระดับคุณภาพ

รายละเอียดของตัวบ่งชี้

ผลการประเมิน

หมายเหตุ

ดีมาก (5)

1) ลำดับใจความสำคัญของเนื้อหาและเหตุการณ์ได้ถูกต้อง

2) เนื้อหาครอบคลุมหัวเรื่อง ครบถ้วนและสื่อสารได้ชัดเจนเหมาะสม

3) กลไกในการเขียนถูกต้องเกี่ยวกับการสะกดคำ เครื่องหมายวรรคตอน และหลักไวยากรณ์อื่นๆ 

4) รักษาความสะอาด และตรงเวลา

 

 

ดี (4)

1) ลำดับข้อความสำคัญของเนื้อหาและเหตุการณ์ไม่ได้ถูกต้อง

2) เนื้อหาครอบคลุมหัวเรื่อง ครบถ้วนและสื่อสารได้ชัดเจนเหมาะสม

3) กลไกในการเขียนถูกต้องเกี่ยวกับการสะกดคำ เครื่องหมายวรรคตอน และหลักไวยากรณ์อื่น ๆ

4) รักษาความสะอาด และตรงเวลา

 

 

ปานกลาง (3)

1) ลำดับใจความสำคัญของเนื้อหา และเหตุการณ์ไม่ถูกต้อง

2) เนื้อหาครอบคลุมหัวเรื่องไม่ครบถ้วนและสื่อสารไม่ชัดเจน 

3) กลไกในการเขียนเกี่ยวกับเครื่องหมายวรรคตอนและหลักไวยากรณ์ถูกต้อง  แต่การสะกดคำไม่ถูกต้อง

4) รักษาความสะอาด และตรงเวลา

 

 

พอใช้ (2)

1) ลำดับใจความสำคัญของเนื้อหาและเหตุการณ์ไม่ถูกต้อง

2) เนื้อหาครอบคลุมหัวเรื่องเล็กน้อย    และสื่อสารไม่ชัดเจน 

 3)   กลไกใน  การเขียนไม่ถูกต้อง เกี่ยวกับการสะกดคำ เครื่องหมายวรรคตอน และหลักไวยากรณ์

4) รักษาความสะอาด  แต่ไม่ตรงเวลา

 

 

ปรับปรุง (1)

1) ขาดการลำดับใจความสำคัญของเนื้อหาและเหตุการณ์

2) เนื้อหาไม่ครอบคลุมหัวเรื่อง และสื่อสารไม่ชัดเจน

3) ขาดกลไกในการเขียน

4) ไม่รักษาความสะอาด และไม่ตรงเวลา

 

 

………………………….ผู้ประเมิน

 

หมายเลขบันทึก: 428929เขียนเมื่อ 28 กุมภาพันธ์ 2011 21:11 น. ()แก้ไขเมื่อ 21 มิถุนายน 2012 16:22 น. ()สัญญาอนุญาต: สงวนสิทธิ์ทุกประการจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท