การสร้างมูลค่าเพิ่มจากการวิจัยและพัฒนา(VALUE CREATION FROM RESEARCH AND DEVELOPMENT)


การสร้างมูลค่าเพิ่มจากการวิจัยและพัฒนา(VALUE CREATION FROM RESEARCH AND DEVELOPMENT)

การสร้างมูลค่าเพิ่มจากการวิจัยและพัฒนา
(VALUE CREATION FROM RESEARCH  AND DEVELOPMENT)

ดร.นันทวัฒน์ เกิดชื่น  :ประมง ม.เกษตรศาสตร์ :AIT :Ph.D ฝรั่งเศส

ทำงานที่คาร์กิลเป็น 10 ปี ปัจจุบัน ไทยยูเนียนฟีดมิล

  • การสร้างมูลค่าเพิ่ม = Value creation
  • ปูนซีเมนท์ไทย =  Value base management เช่น Logistic

บัญญัติของการ “วิจัย” ในระดับบัณฑิตศึกษา

  1. มุ่งตอบโจทย์วิจัยมากกว่าเน้นวิธีวิทยา
  2. ยอมรับความแทรกซ้อนของตัวแปร มากกว่าตัดตัวแปรทิ้ง
  3. ไม่เน้นอาจารย์ที่ปรึกษา หรือ บัณฑิต แต่เน้นนักวิจัยร่วม
  4. ไม่มีปรากฏการณ์ใดในโจทย์อธิบายได้ด้วยการวิจัยหนึ่งเดียว
  5. เน้นสร้างจิตวิญญาณการวิจัยมากกว่า ผลิตผลงานวิจัยเฉพาะกิจ
  6. สร้างงานวิจัย Made to order มากกว่าการวิจัยเน้นจินตนาการ
  7. สร้างปรากฎการณ์ “กาสีขาว” ความรู้ใหม่ที่หักล้างข้อเท็จจริงเดิม
  8. การวิจัยที่วิ่งหนีความผิดพลาดกับการวิจัยที่ยอมรับความผิดพลาด
  9. การวิจัยมุ่งเข้าสู่เป้าหมาย มิใช่การวิจัย เพื่อวิจัย
  10. การวิจัยต้องเป็นอนัตตา

ลูกค้าต้องการอะไร

  1. คุณภาพของสินค้า และ / หรือ การบริการที่ดี
  2. กำไรเพิ่มขึ้น หรือ ต้นทุนลดลง

Value Creation

  • การสร้างมูลค่าเพิ่ม (Value Creation) คือ กิจกรรมใดก็ตามที่เพิ่มมูลค่าของสินค้า และ คุณค่าของการบริการสำหรับลูกค้า

 โดยสมการของมูลค่า (the value equation) มีดังนี้

RV = UV x CrV x ComV

เมื่อ     RV      =    Recognized value

UV      =    Understood Value

CrV     =    Created Value

ComV  =    Communicated value

     ซึ่งทั้ง UV, CrV และ ComV ต้องทำพร้อมกันเพื่อไม่ให้ RV มีค่าเท่ากับศูนย์ คือ ต้องมองลูกค้าเป็นหลัก สร้างคำตอบ และสร้างคุณค่าให้คนอื่นรับทราบ

  • Ivory cost มีโกโก้มาก
  • มอนซานโต้ไปซื้อคาร์กิลเพราะคาร์กลิ สู้ไม่ได้
  • ข้าวโพด มัน ไลซีน ถุงพลาสติกชีวภาพ
  • การเอายอดมะนาวมาต่อยอดมะควิดมะนาวจะออกลูกดกมาก
  • งานวิจัยเมื่อได้คำตอบแล้ว ต้องนำไปสู่การนำไปใช้ประโยชน์ก่อให้เกิดการพัฒนา ซึ่งอาจเป็นประโยชน์กับทุกคนในส่วนรวม
  • งานวิจัยไม่ใช่ทำเพื่อเก็บไว้ขึ้นหิ้ง หรือทำแล้วเกิดประโยชน์กับคนทุกๆกลุ่ม
  • เกษตรกรซึ่งเป็นบุคคลที่มักถูกมองข้าม และถูกฉกฉวยผลประโยชน์อยู่เสมอ
  • เมื่อการศึกษาคือธุรกิจ ลูกศิษย์คือลูกค้า
หมายเลขบันทึก: 396266เขียนเมื่อ 21 กันยายน 2010 00:21 น. ()แก้ไขเมื่อ 20 มิถุนายน 2012 11:37 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-อนุญาตแบบเดียวกันจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท