ขอต้อนรับนักศึกษาวิชาวิธีวิทยาการวิจัยมหาวิทยาลัยกรุงเทพธนบุรี กลุ่มเรียนที่จังหวัดสตูล


           ขอต้อนรับนักศึกษาวิธีวิทยางานวิจัย มหาวิทยาลัยกรุงเทพธนบุรี กลุ่มเรียนที่จังหวัดสตูล มาเพิ่มพูนความรู้สู่โลกกว้างทางการวิจัยในบล็อกแห่งการเรียนรู้

 

G1 เจริญ พนมไพร พระมหาวรพล

วราธิดา คนึงนิจ อรุณ

อูมิงกาลาโสม วนิดา ชัยยงค์

 

G2 พนม ปิยะพงศ์ สุธา

อาธิ ทศวิน สุวรรณ

อนุต โฆษิต วิเชียร

 

 สุชาติ ศักดานุวัฒน์

พรศักดิ์ เพ็ญศรี

G5 มอฮำหมาดมาดี สนัน แหมะโสม

สไบแพร อรษา จันทนา

อภิษฎา รอมาเดียะ อาณัติ

 

 G6 บังอร อภิญญา วารินี สายใจ สอมีย๊ะ จินตนา

สุนี วรรณี โอฬาร ยุวดี อริยภรณ์

มัสตูราห์ ปราณีต อาสิรน

G4 สุวิศิษฏ์ จริญ มัสดี

อุเสน วนิตา ณัฐพิมล

เอกชัย สุรีรัตน์ ปรมินทร์

 

G7 กมลชัย

 

 G8 อรุณ  มาแอล เกษม อูมัร อุดม

 ดารุณี อับดลล๊ะ บารูดีน มานพ ธนิตย์

 G10 เกษม ศิรินญา

G11 วรรญา สุนิตย์

ฉวีวรรณ สิริ เจนจิรา ธาตรี ฮาสาน๊ะ

ฮัจยะ มาณี สาอุตะ

 

G9 ชสลัน อานัด อาบีดีน

จุรางรัตน์

ลัดดาวัลย์

อานิตา รอเบ๊ยะ โรสนาร์นี่ย์

 นรบดี  อลิษา

สมชัย มัสหลัน จารุวรรณ

 

 นิรชา ระรื่น โสมสุดา ปรีดา อดุลย์

ปรีดา(หมานมานะ) ประวี อาสันชบรี สามารถ พิพัฒน์

สมศักดิ์ กูอัน ณิชากร วีระศักดิ์ บูอาลัน

วิชิต ญาณกวี เจษฎา สุริยา พงษ์ศิริ

มัสลีม

หมายเลขบันทึก: 380173เขียนเมื่อ 31 กรกฎาคม 2010 22:39 น. ()แก้ไขเมื่อ 6 กันยายน 2013 23:18 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-อนุญาตแบบเดียวกันจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (81)

สวัสดีครับอาจารย์ ผมได้รับความรู้ใหม่มากเลยครับ ผมทำบล็อกได้แล้ว ขอบคุณอาจารย์มากครับ

รายงานตัวครับ

อยากทราบ ผมติดต่ออาจารย์ได้แล้งยังครับ

ผม เสนอปัญหาวิจัย (สำหรับทำIS) "สภาพภาวะผู้นำทางวิชาการของผู้บริหาร กลุ่มโรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัยภาคใต้"

หรือของครูดีครับ พอจะทำได้หรือปล่าวครับ หรือผมจะศึกษาให้มากขึ้นโดยมุ่งหาความสัมพันธ์กับตัวแปรอื่ด้วย

ช่วยตอบด้วยครับ ขอบคุณครับ

สวัสดีครับคุณอรษา

สวัสดีครับรองนม

สวัสดีครับคุณพนมไพร

is ของคุณพนมไพร ทำได้ทั้งครูและผู้บริหารครับ แต่ถ้าจะให้ดูตรงมากขึ้นน่าจะเป็นภาวะผู้นำทางวิชาการของผู้บริหาร ครับ

เรียน ท่านอาจารย์

ขอบคุณที่แนะนำครับ ขณะนนี้ผมกำลังศึกษาเก็บรวบรวมความรู้ด้านนี้อยู่ครับ

ถ้าเวลาพอ ผมจะส่งเค้าโครงมาพร้อมกับการบ้านให้อาร์จารย์ช่วยแนะนำครับ

ขอเชิญชวน เพื่อนนักศึกษา ป.โท ม.กรุงเทพธนบุรี สตูล ทุกคน มาแลกเปลี่ยนเรียนรู้กันในบล็อกนี้ครับ

สวัสดีค่ะอาจารย์ อภิญญา กลุ่ม 6 รายงานตัวค่ะ

สว้สดีครับ อาจารย์ เป็นอย่างไรบ้างครับ กับการเดินทางจากสตูล-กรุงเทพฯ-อยุธยา ผมหวังว่าอาจารย์คงสบายดี นะครับ มีโอกาสขอเชิญมาเยือนเมืองสตูลอีกนะครับ ยินดีต้อนรับครับ

สวัสดีครับคุณอภิญญา

สวัสดีครับรองนม

เดินทางกลับอยุธยาราบรื่นดีครับเมื่อรถทัวร์ถึงสายใต้ประมาณหกนาฬิกาก็นั่งแทกซี่ต่อกลับอยุธยาถึงก็เจ็ดโมงเช้า สบาย ๆ ครับ ขอบคุณครับสำหรับไมตรีจิต

สวัสดีค่ะอาจารย์ บังอร เกนุ้ย G6 ขอรายงายตัวค่ะ มาช้าดีกว่าไม่มา รายงานยังไม่เสร็จค่ะ เพราะมีงานยุ่ง แต่สัญญาเสร็จทันแน่นอนค่ะ

หนูส่งการบ้านแล้วไม่รู้ใช้ได้ไหมคะ ขอให้อาจารย์ช่วยแนะนำด้วยคะ

สวัสดีครับคุณวิเชียร คุณบังอร และคุณสไบแพร

สำหรับคุณสไบแพรไม่ทราบว่าส่งงานทางไหนครับ ยังไม่พบ

สวัสดีคะอาจารย์ วันนี้ขอเข้ามาทักทายก่อนนะคะ เดี่ยวจะส่งมามาให้จะส่งงานมาให้ กำลังทดลองอยู่คะ อาจารย์ช่วยแนะนำด้วย

สวัสดีคะอาจารย์ นางรอเบี๊ยะ หมันสัน สมาชิกของกลุ่มที่ 9 ศูนย์สตูลขอรายงานตัวเชินกันคะ

สวัสดีคะ อาจารย์ หนูนางโรสนาร์นีย์ บุญณะ กลุ่ม 9 ขอรายงานตัวคะอาจารย์ หนูกำลังศึกษาวิธีการส่งข้อมูลอยู่คะ

สวัสดีคะอาจารย์ งานส่งก่อนสิ้นเดือนใช่ไหมคะ

สวัสดีครับคุณกูอัน คุณรอเบี๊ยะ คุณโรสนาร์นีย์ และคุณแหมะโสม

งานส่งภายในสิ้นเดือนนะครับ ส่งที่หัวหน้าศูนย์สตูลครับ

สวัสดคะอาจารย์ เข้ามาทักทายก่อนนะ กำลังศึกษาวิธีการอยู่ สมาชิกกลุ่มที่ 9 ศูนย์สตูลคะ

สวัสดีคะอาจารย์ สมาชิกกลุ่มที่่ 9 ศูนย์สตูล ขอรายงานตัวคะ ศึกษาวิธีการนานไปหน่อยคะอาจารย์

สวัสดีครับอาจารย์ กลุ่มที่ 9 ศูนย์สตูล ขอรายงานตัวครับผม

ผมนายอาบีดีน หลีเส็น สมาชิกกลุ่ม 9 ศูนย์สตูล ขอรายงานตัวครับอาจารย์

สวัสดีคะอารย์ นางสาวอานิตา มนูญดาหวี สมาชิกกลุ่มที่ 9 ศูนย์สตูลคะ

สวัสดีคะอาจารย์ นางสาอุด๊ะ เกปัน นักศึกษา ป.บัณฑิต ศูนย์สตูล คะ

สวัสดีครับอาจารย์

ส่งเป็นblogอย่างเดียวได้ไหมครับ

กระผมขอรายงานตัวครับ

สวัสดีท่านอาจารย์อีกครั้งครับ

ส่งหัวข้อ is ให้อาจารย์แนะนำครับ

สภาพภาวะผู้นำทางวิชาการของผู้บริหารตามความคิดเห็นของครู ผู้ปกครอง และคณะกรรมการสถานศึกษา : กรณีศึกษากลุ่มโรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย ภาคใต้

สวัสดีค่ะอาจารย์ แหมะโสมส่งงานสรุปวิจัยทั้ง 3 เรื่องแล้วคะ อยู่ในบันทึกของหนูค่ะ

สวัสดีค่ะอาจารย์ แหมะโสม กลุ่มที่ 5 ส่งงานสรุปวิจัยทั้ง 3 เรื่องแล้วคะ อยู่ในบันทึกของหนูค่ะ

สวัสดีค่ะอาจารย์

นางสาวอรษา เกตุมุณี กลุ่มที่ 5 ส่งงานสรุปวิจัยทั้ง 3 เรื่องแล้วคะ

อยู่ในบันทึกของหนูค่ะ

สวัสดีครับอาจารย์

นายมอฮำหมาดมาดี หลงกาสา กลุ่มที่ 5 ส่งงานสรุปวิจัยทั้ง 3 เรื่อง อยู่ในบันทึกของผมครับ

สวัสดีครับอาจารย์

ผมมานพ กลุ่มที่ 8 ลำดับที่ 105

ผมได้ทำสรุปชิ้นที่ 1 ไว้ในบันทึกของผมแล้วนะครับ

เรียนอาจารย์ ดร.ดิศกุล

ขอส่งงานสรุปสาระสำคัญของงานวิจัย 1-3 อยู่ใน blog อาธิ ศิริยา ครับ

เรียนอาจารย์ดิศกุลที่นับถือ

ผมส่งวิเคราะห์งานวิจัย (การบ้าน) เรื่องแรกทางอีเมล์แนบไฟด์มาแล้วครับ

อาจารย์ครับ

ผมได้จัดทำสรุปงานวิัจัยครบทั้ง 3 ชิ้นแล้วครับ

รบกวนอาจารย์ช่วยคอมเม้นด้วยนะครับ

กลุ่ม 8 ลำดับที่ 105

สวัสดีครับทุกท่าน

ผมได้เข้าไปเยี่ยมชมผลงานทุกท่านแล้วครับสำหรับท่านที่แจ้งส่งแล้ว

คุณมอฮำหมาดมาดี ครับ

ส่งเป็นบล็อกอย่างเดียวได้ครับ

คุณเจริญครับ

หัวข้อ is เรื่อง สภาพภาวะผู้นำทางวิชาการของผู้บริหารตามความคิดเห็นของครู ผู้ปกครอง และคณะกรรมการสถานศึกษา : กรณีศึกษากลุ่มโรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย ภาคใต้ ที่เสนอมา ok เลยครับ

เรียน ดร.ดิศกุล ครับ ส่งสรุปสาระสำคัญงานวิจัยครับ ในบล๊อค นายปิยะพงศ์ ชัยยะวิริยะ กลุ่ม 2 สตูล ครับ

ขอบคุณครับ

เรียนอาจารย์ดิศกุลที่นับถือ

ผมส่งวิเคราะห์งานวิจัย (การบ้าน) เรื่องที่ 2 ทางอีเมล์แนบไฟด์มาแล้วครับ

เรียนอาจารย์ดิศกุลที่นับถือ

1. ผมส่งวิเคราะห์งานวิจัย (การบ้าน) เรื่องที่ 3 ทางอีเมล์แนบไฟด์มาแล้วครับ

2. หัวข้อ is เรื่อง สภาพภาวะผู้นำทางวิชาการของผู้บริหารตามความคิดเห็นของครู ผู้ปกครอง และคณะกรรมการสถานศึกษา : กรณีศึกษากลุ่มโรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย ภาคใต้ ที่เสนอมาเป็นของผมครับ ไม่ใช่ของคุณเจริญ ผมอาจใช่บล็อกของแกส่งมา

3. ผมส่งงานครบแล้วหรือยังครับ

4. IS ทำเป็นรายคน หรือรายกลุ่ม (กลุ่มละกี่คน) ครับ

พนมไพร

เรียนอาจารย์ดิศกุลที่นับถือ

ผมส่งวิเคราะห์งานวิจัย (การบ้าน) ทั้ง 3 เรื่องมาให้อืกทางบล็อกผมครับ

คุณพนมไพรครับ

ส่งงานได้ครบถ้วนแล้วครับ เป็นแนวหน้า

ส่งงานสรุปวิจัยชิ้นที่ 1-3 ช่วยตรวจให้หน่อยนะคะอาจารย์

อาจาร์ยที่เคารพครับ ผมส่งงานทางบล็อกแล้วอาจาร์ยกรุณาตรวจดูหน่อยครับว่าครบหรือเปล่า สรุปงานวิจัย 3 เรื่อง

เรียน ดร.ดิศกุล ครับ ส่งสรุปสาระสำคัญงานวิจัยครับ ในบล๊อค นายวิเชียร บุญเตี่ยว กลุ่ม 2 สตูล ครับ

ขอบคุณครับ

เรียบร้อยไม่ครับอาจารย์ ต้องส่งเป็น report อีกหรือเปล่าครับ

เรียบร้อยไม่ครับอาจารย์ ต้องส่งเป็น report อีกหรือเปล่าครับ

สวัสดีครับคุณวิเชียร

คุณวิเชียรส่งในบล็อกแล้วไม่ต้องส่ง report แล้วครับ ok แล้วครับ

กระผมสุธา บัวดำ ส่งงานแล้วครับ ขอให้อาจารย์มีความสุข ได้รับแล้วตอบกลับด้วยครับ ขอบคุณครับ

สวัสดีครับคุณสุธา ตรวจดูในบล็อกแล้วครับ คุณสุธาส่งครบแล้ว

ขอบคุณครับขอให้มีความสุขเช่นกัน

อาจารย์ขาหนู วนิดา ศิริวัฒน์ ส่งงานแล้วนะคะ

นายสามารถ  รังสรรค์  กลุ่ม 7  ส่งงานครับผม

ชื่อเรื่อง : การวิเคราะห์ปัจจัยที่ส่งผลต่อประสิทธิผลองค์การของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา

ผู้วิจัย : ญาณิศา บุญจิตร์

ปีที่วิจัย : พ.ศ. 2551-2552

วัตถุประสงค์ :

1. เพื่อวิเคราะห์องค์ประกอบและตัวชี้วัดประสิทธิผลองค์การของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา

         2. เพื่อวิเคราะห์ระดับประสิทธิผลองค์การของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา

         3. เพื่อวิเคราะห์ปัจจัยที่ส่งผลต่อประสิทธิผลองค์การของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา

วิธีวิจัย :

วิธีการ :  การวิจัยเชิงบรรยาย (Descriptive Research)

          กลุ่มตัวอย่าง : สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ทั้งหมด 185 แห่ง

เครื่องมือ :  แบบสอบถามชนิดประมาณค่า 5 ระดับ

วิธีเก็บรวบรวมข้อมูล   :  ขอหนังสือจากภาควิชาถึงสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา จัดส่งแบบสอบถาม ผู้วิจัยรับแบบสอบถามกลับด้วยตนเอง

           วิธีวิเคราะห์ข้อมูล  :

                   ใช้โปรแกรมสำเร็จรูป SPSS ดังนี้

  1. การวิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐานของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ใช้สถิติหา

ค่าความถี่และร้อยละ 

                  2.  การวิเคราะห์ระดับประสิทธิผลองค์การของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ใช้สถิติมัชฌิมเลขคณิต และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน

 ผลการวิจัยพบว่า  :

                   1. องค์ประกอบและตัวชี้วัดประสิทธิผลองค์การของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประกอบด้วย 4 องค์ประกอบ 31 ตัวชี้วัด

                   2. ประสิทธิผลองค์การของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาอยู่ในระดับมาก และเมื่อพิจารณารายด้านพบว่ามี 3 ด้านอยู่ในระดับมาก โดยด้านกระบวนการภายในมีประสิทธิผลสูงสุด รองลงมาคือด้านผู้รับบริการ และด้านการเงิน ตามลำดับ ส่วนด้านการเรียนรู้และการพัฒนา อยู่ในระดับปานกลาง

                   3. ปัจจัยที่ส่งผลต่อประสิทธิผลองค์การของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 มี 8  ปัจจัย ได้แก่ สภาพแวดล้อมภายนอก นโยบายการบริหารและการปฏิบัติ โครงสร้างองค์การ คุณภาพบุคลากร ลักษณะงาน ลักษณะผู้รับบริการ เทคโนโลยี และวัฒนธรรมองค์การ ร่วมกันอธิบายประสิทธิผลองค์การของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาได้ร้อยละ 88.00

ชื่อเรื่อง  :  การนำเสนอรูปแบบการเรียนการสอนบนเว็บวิชาวิทยาศาสตร์ตามแนวคิดการออกแบบย้อนกลับสำหรับนักเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 1

ผู้วิจัย  นางสาววิภาวี บุตรธรรม

ปีที่วิจัย  :  2551-2552

วัตถุประสงค์  :

1. เพื่อศึกษาความคิดเห็นของครูวิชาวิทยาศาสตร์ และนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 และผู้เชี่ยวชาญเกี่ยวกับรูปแบบการเรียนการสอนบนเว็บวิชาวิทยาศาสตร์ตามแนวคิดการออกแบบย้อนกลับสำหรับนักเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 1
         2. เพื่อพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนบนเว็บวิชาวิทยาศาสตร์ตามแนวคิดการออกแบบย้อนกลับสำหรับนักเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 1
         3. เพื่อศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนจากการใช้รูปแบบการเรียนการสอนบนเว็บวิชาวิทยาศาสตร์ตามแนวคิดการออกแบบย้อนกลับสำหรับนักเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 1
         4. เพื่อนำเสนอรูปแบบการเรียนการสอนบนเว็บวิชาวิทยาศาสตร์ตามแนวคิดการออกแบบย้อนกลับสำหรับนักเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 1

วิธีวิจัย  :

            วิธีการ  :  การวิจัยแบบวิจัยและพัฒนา (Research and Development) 

            กลุ่มตัวอย่าง  :  ครูวิทยาศาสตร์ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ซึ่งได้มาจากการได้มาโดยการเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง (Purposive Sampling)

          เครื่องมือ  :  

  1. แบบสอบถามความคิดเห็นสำหรับครูผู้สอนวิชาวิทยาศาสตร์แบบสอบถาม

ความคิดเห็นสำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 และแบบสอบถามความคิดเห็นสำหรับผู้เชี่ยวชาญ 3 ด้านได้แก่ ด้านการเรียนการสอนบนเว็บ ด้านการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ และด้านการออกแบบย้อนกลับ
                 2. แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ระบบการเรียนบนเว็บและบทเรียนเว็บ  แผนการจัดการเรียนรู้ที่สร้างขึ้นตามรูปแบบฯ

     วิธีเก็บรวบรวมข้อมูล  :  ส่งแบบสอบถามความคิดเห็นทางไปรษณีย์ ไปรษณีย์

อิเล็กทรอนิกส์   (E-mail) และส่งด้วยตนเองในบางแห่ง และรวบรวมแบบสอบถามที่ได้รับตอบกลับทางไปรษณีย์ ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์และรับด้วยตนเอง

     วิธีวิเคราะห์ข้อมูล  การหาค่าร้อยละ     การหาระดับความยากง่าย ค่าอำนาจจำแนก

ค่าความเที่ยงตรงของแบบทดสอบ เปรียบเทียบคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนด้วยการทดสอบที (t-test)

ผลการวิจัยพบว่า   :
            องค์ประกอบของรูปแบบการเรียนการสอนบนเว็บวิชาวิทยาศาสตร์ตามแนวคิดการออกแบบย้อนกลับสำหรับนักเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 1 ประกอบด้วยองค์ประกอบ 9 องค์ประกอบ คือ
1) วัตถุประสงค์
2) เนื้อหา/สาระวิชา
3) บทบาทของผู้เรียน
4) บทบาทของผู้สอนหรือผู้อำนวยความสะดวก
5) วิธี/การดำเนินการสอน
6) ทรัพยากรของอินเทอร์เน็ตและเวิลด์ไวด์เว็บ
7) วิธีการสื่อสารและปฏิสัมพันธ์
8) ปัจจัยสนับสนุนการเรียนการสอน
9) การวัดประเมินผล
ขั้นตอน 3 ขั้นตอนคือ
ขั้นเตรียมการ ประกอบด้วย

1) กำหนดเป้าหมายที่พึงประสงค์ (Identify desired results)

2) วิเคราะห์ผู้เรียน

3) กำหนดหลักฐานที่แสดงว่าผู้เรียนได้บรรลุเป้าหมายที่พึงประสงค์ (Determine acceptable Evidence of learning)

4) การวางแผนประสบการณ์ การเรียนรู้และการสอน (Plan learning experiences and instruction)

5) เตรียมความพร้อมสิ่งแวดล้อมการเรียนการสอนบนเว็บ สื่อ และทรัพยากรสนับสนุน
ขั้นดำเนินการ ประกอบด้วย

1) ปฐมนิเทศนักเรียน (ในชั้นเรียน)

2) ดำเนินกิจกรรมการเรียนการสอน
ขั้นประเมินผล

1) การประเมินผลการเรียนรู้ก่อนเรียน

2) การประเมินผลการเรียนรู้ระหว่างเรียน

3) และการประเมินผลการเรียนรู้หลังเรียน

          หลังจากที่ผู้วิจัยนำรูปแบบการเรียนการสอนบนเว็บวิชาวิทยาศาสตร์ตามแนวคิดการ

ออกแบบย้อนกลับสำหรับนักเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 1 ไปทดลองใช้กับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่1/5 ของโรงเรียนดอนตาลวิทยา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามุกดาหาร จำนวน 43 คน ซึ่งเป็นโรงเรียนที่ครูวิทยาศาสตร์ผ่านการฝึกอบรมเรื่องการจัดการเรียนรู้ด้วยการออกแบบย้อนกลับในการอบรมผู้นำการเปลี่ยนแปลง โดยการเปรียบเทียบคะแนนจากแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นก่อนเรียนและหลังเรียนพบว่ากลุ่มตัวอย่างที่เรียนด้วยรูปแบบการเรียนการสอนบนเว็บวิชาวิทยาศาสตร์ตามแนวคิดการออกแบบย้อนกลับสำหรับนักเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 1 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05

 

คุณวนิดาครับ ผมได้ไปครวจแล้ว

ok ครับ

ได้ไปตรวจบล็อกของคุณโฆษิต อีกท่านหนึ่ง

ok ครับ

สวัสดีค่ะอาจารย์

ส่งงานคะ เข้าไปตรวจได้ค่ะ อยู่ในบันทึกของหนูค่่ะ

นางสายใจ ศรียาน

นายสามารถ รังสรรค์ สมาชิกกลุ่ม 7 ขอส่งงานเพิ่มเติมครับ

ชื่อเรื่อง : บทบาทผู้บริหารสถานศึกษา ในการส่งเสริมการปฏิบัติงานของครูตามแนวปฏิรูปการศึกษา

ผู้วิจัย : ดร.สกุลรัตน์ กมุทมาศ

ปีที่วิจัย : ปลายปี พ.ศ.2548 – ต้นปี พ.ศ.2550

วัตถุประสงค์ :

1. เพื่อศึกษาความคิดเห็นทั่วไปของครูผู้สอน และความคิดเห็นต่อบทบาทของผู้บริหารสถานศึกษาในการส่งเสริมการปฏิบัติงานของครูตามแนวปฏิรูปการศึกษา

2. เพื่อเปรียบเทียบการทำวิจัยในชั้นเรียนของครูผู้สอนที่มี เพศ อายุ อายุการทำงาน ตำแหน่ง ระดับช่วงชั้นที่สอน และสอนในขนาดโรงเรียนต่างกัน

3. เพื่อเปรียบเทียบความคิดเห็นของครูผู้สอนที่มีเพศต่างกัน มีความคิดเห็นต่อบทบาทของผู้บริหารสถานศึกษาในการส่งเสริมการปฏิบัติงานของครูตามแนวปฏิรูปการศึกษา

4. เพื่อเปรียบเทียบความคิดเห็นของครูผู้สอนที่มีอายุต่างกัน มีความคิดเห็นต่อบทบาทของผู้บริหารสถานศึกษาในการส่งเสริมการปฏิบัติงานของครูตามแนวปฏิรูปการศึกษา

5. เพื่อเปรียบเทียบความคิดเห็นของครูผู้สอนที่มีอายุการทำงานต่างกัน มีความคิดเห็นต่อบทบาทของผู้บริหารสถานศึกษาในการส่งเสริมการปฏิบัติงานของครูตามแนวปฏิรูปการศึกษา

6. เพื่อเปรียบเทียบความคิดเห็นของครูผู้สอนที่มีตำแหน่งต่างกันมีความคิดเห็น ต่อบทบาทของผู้บริหารสถานศึกษา ในการส่งเสริมการปฏิบัติงานของครูตามแนวปฏิรูปการศึกษา

7. เพื่อเปรียบเทียบความคิดเห็นของครูผู้สอนในระดับช่วงชั้นที่สอนต่างกันมีความคิดเห็นต่อบทบาทของผู้บริหารสถานศึกษา ในการส่งเสริมการปฏิบัติงานของครูตามแนวปฏิรูปการศึกษา

8. เพื่อเปรียบเทียบความคิดเห็นของครูผู้สอนในขนาดโรงเรียนต่างกันมีความคิดเห็นต่อบทบาทของผู้บริหารสถานศึกษาในการส่งเสริมการปฏิบัติงานของครูตามแนวปฏิรูปการศึกษา

วิธีวิจัย :

วิธีการ : การวิจัยเชิงสำรวจ (Survey Research)

กลุ่มตัวอย่าง : ครูผู้เข้าประชุมที่ได้รับการคัดเลือกให้เข้าร่วมประชุม จาก 51 จังหวัด จำนวน 3,500 คน แต่ได้รับแบบสอบถามกลับคืนมา 2,953 ชุด ซึ่งใช้เป็นกลุ่มตัวอย่างตามจุดมุ่งหมาย แบบเจาะจง (Purposive Samples) ครูสายผู้สอน

เครื่องมือ : แบบสอบถาม

วิธีเก็บรวบรวมข้อมูล : เก็บแบบสอบถามจากการแจกในที่ประชุม

การวิเคราะห์ข้อมูล :

1) ค่าร้อยละ (Percentage)

2) ค่าคะแนนเฉลี่ย (Mean)

3) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation)

สถิติที่ใช้ในการหาคุณภาพเครื่องมือ

- ค่าความเชื่อมั่นของเครื่องมือแบบสอบถามความคิดเห็นของครูต่อบทบาทของผู้บริหาร

สถานศึกษา โดยวิธีหาค่าสัมประสิทธิ์แอลฟา -Coefficient Alpha (ล้วน สายยศ และอังคณา สายยศ 2538 : 200)

ทดสอบสมมุติฐาน โดยใช้สถิติ ดังนี้

- คำนวณค่า t-test เพื่อเปรียบเทียบความคิดเห็นของครูต่อบทบาทของผู้บริหาร สถานศึกษาในการส่งเสริมการปฏิบัติงานของครูตามแนวปฏิรูปการศึกษา ในตัวแปรอิสระของคุณลักษณะทางสังคมที่มี 2 กลุ่ม (บุญชม ศรีสะอาด 2546 : 163 )

- คำนวณค่า F-test เพื่อเปรียบเทียบความคิดเห็นของครูต่อบทบาทของผู้บริหารสถานศึกษาในการส่งเสริมการปฏิบัติงานของครูตามแนวปฏิรูปการศึกษา ในตัวแปรอิสระของคุณลักษณะทางสังคมที่มี 3 กลุ่ม (บุญชม ศรีสะอาด 2546 : 164 ) และเมื่อพบว่ามีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติทำการทดสอบความแตกต่างรายคู่ ด้วยวิธีการของ Scheffe′

ผลการวิจัยพบว่า :

ประการแรก ในส่วนที่เป็นความคิดเห็นเกี่ยวกับตัวครูผู้สอนเองตามแนวทางการปฏิรูปการศึกษา พบว่า มีจำนวนครูผู้สอนส่วนใหญ่ คือ ระหว่างร้อยละ 70.41 ถึง 96.50 คน ที่มีความสุขกับการสอน รักนักเรียน ไม่เบื่อการเป็นครู รักการสอนตามแนวปฏิรูปการศึกษา และไม่มีความกดดันจากการสอน

ประการที่สอง ผลจากการศึกษาด้านความคิดเห็นของครูผู้สอนต่อบทบาทของผู้บริหารสถานศึกษาในการส่งเสริมการปฏิรูปงานของครูตามแนวปฏิรูปการศึกษา 4 ด้าน คือ ด้านการส่งเสริมมิตรสัมพันธ์ในสถานศึกษา ด้านการส่งเสริมงบประมาณเพื่อพัฒนาการเรียนการสอนด้านการส่งเสริมและการพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา และด้านการส่งเสริมการวิจัยในชั้นเรียนและการประเมินผลนักเรียน ผลการศึกษาพบว่า ครูผู้สอนมีความคิดเห็นโดยรวมว่าผู้บริหารสถานศึกษาส่งเสริมการปฏิบัติงานทั้ง 4 ด้าน อยู่ในระดับมาก

มีจำนวนเกือบครึ่งหนึ่งของผู้ตอบที่มีความคิดเห็นต่อผู้บริหารในทางตรงกันข้าม เช่น ตนไม่มีความใกล้ชิดกับผู้บริหาร ผู้บริหารไม่ให้กำลังใจ ไม่ให้ความช่วยเหลือ ไม่ตรวจเยี่ยม เป็นต้น ผลการศึกษาที่พบในเชิงนิเสธเช่นนี้ ควรให้ผู้บริหารสถานศึกษาได้รับทราบเพื่อเป็นข้อมูลในการแก้ไขและปรับปรุงตนเอง เพื่อให้ครูผู้สอนซึ่งเป็นบุคคลใต้บังคับบัญชาได้รับการตอบสนองในประเด็นต่าง ๆ ดังกล่าวข้างต้นมากขึ้น ซึ่งจะก่อให้เกิดความรู้สึกว่าผู้บริหารสถานศึกษาได้สนับสนุนการปฏิบัติงานตามแนวปฏิรูปการศึกษาอย่างจริงจัง อันจะนำไปสู่การเรียนการสอนตามแนวปฏิรูปการศึกษาให้ดีขึ้นด้วย

ประการที่สาม ในเรื่องของการทำวิจัยในชั้นเรียน ผลการศึกษาพบว่า ครูผู้สอนเคยทำวิจัยในชั้นเรียนมีจำนวนร้อยละ 72.30 ซึ่งเป็นจำนวนมากพอสมควร อย่างไรก็ตามการทำวิจัยในชั้นเรียนเป็นเรื่องสำคัญของการพัฒนาการเรียนการสอน ผู้บริหารสถานศึกษาควรมีการส่งเสริมสนับสนุนให้ครูผู้สอนทุกคนได้ทำวิจัยในชั้นเรียน โดยเชิญวิทยากรที่มีความรู้ด้านการวิจัยมาให้ การอบรมด้านการวิจัย เช่น การสร้างรูปแบบการวิจัย ความเข้าใจเกี่ยวกับปัญหาการวิจัย การใช้สถิติในการวิเคราะห์ข้อมูล และการนำผลงานวิจัยไปใช้ในชั้นเรียน เป็นต้น นอกจากนี้ยังต้องสนับสนุนในเรื่องอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง คือ การจัดเวลาว่างจากการเรียนการสอนเพื่อทำงานวิจัยรวมถึงการให้เงินทุนสนับสนุนการวิจัยหรือการหาแหล่งเงินทุนจากภายนอก เป็นต้น

ประการที่สี่ ผลจากการศึกษาด้านความคิดเห็นของครูผู้สอนต่อบทบาทของผู้บริหารสถานศึกษาในการส่งเสริมการปฏิรูปงานของครูตามแนวปฏิรูปการศึกษา 4 ด้าน คือ ด้านการส่งเสริมมิตรสัมพันธ์ในสถานศึกษา ด้านการส่งเสริมงบประมาณเพื่อพัฒนาการเรียนการสอนด้านการส่งเสริมและการพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา และด้านการส่งเสริมการวิจัยในชั้นเรียนและการประเมินผลนักเรียน ผลการศึกษาพบว่า ครูผู้สอนมีความคิดเห็นโดยรวมว่าผู้บริหารสถานศึกษาส่งเสริมการปฏิบัติงานทั้ง 4 ด้าน อยู่ในระดับมาก ผลเช่นนี้กล่าวได้ว่า ผู้บริหารสถานศึกษาได้มีบทบาทในการส่งเสริมการปฏิรูปงานของครูอยู่ในระดับที่น่าพึงพอใจ อย่างไรก็ตามผู้บริหารสถานศึกษาควรดำเนินการส่งเสริมอย่างต่อเนื่องและจัดว่าเป็นหน้าที่ที่สำคัญประการหนึ่งในการบริหารสถานศึกษา บริหารงาน และบริหารครูผู้สอน

สวัสดีครับคุณสายใจ

ได้ไปตรวจบล็อกแล้วครับ ok ครับ

อาจารย์คะหนูอภิษฏา ทองเนื้อแข็ง ส่งงานแล้วค่ะ อาจารย์ช่วยตรวจดูและตอบกลับมาด้วยนะคะ

อาจารย์ครับ

ปรึกษาหัวข้อ IS  หน่อยครับ

ศึกษาการมีส่วนร่วมในการบริหารการศึกษาของคณะกรรมการศึกษาขั้นพื้นฐานของโรงเรียน  เครือข่ายละงู  

ได้มั๊ยครับ 

คุณสันต์ครับ

ชื่อเรื่องทำ is ได้ครับ

อาจารย์คะ ช่วยตอบสไบแพร หน่อยนะคะว่า

ท่านได้รับสรุปงานวิจัยทั้งสามเรื่องแล้วยังคะ

ขอบคุณค่ะ

คุณสไบแพรครับ

ผมได้รับงานทั้งสามเรื่องของคุณสไบแพรแล้วครับ

อาจารย์สบายดีหรือเปล่าคะ

สบายดีครับ คุณสไบแพร ขอบคุณครับ

รายงานตัวใหม่ครับ ผมสร้างบล๊อกใหม่ครับ เนื่องจากมีนักเรียนเข้ามาใช้แล้วผิดเงื่อนไข ผมจึงสร้างไว้ 2 บล็อก

GotoKnow.org และ Learners.in.th

ครับ..คุณพนมไพร..ใช้ learners.in.th ในการเรียนการสอนก็ OK ครับ

กลุ่มผมเสนอการสุ่มตัวอย่างโดยไม่ใช้หลักความน่าจะเป็นมาให้เพื่อน ๆ นักศึกษา ครับ ในบล็อกผม

สวัสดีค่ะอาจารย์ สบายดีนะค่ะ

สวัสดีครับคุณอรษา สบายดีครับ

ขอบคุณครับ

เรียนอาจารย์ และสวัสดีนักศึกษา ม.กรุงเทพธนบุรี สตูล ทุกคน ไม่ทราบว่าเพื่อน ๆ ยังใช้บล็อกกันหรือปล่าว มีประโยชน์มากจริง ๆ ผมนำเว็บ ฯ เรียนสถิติ และการใช้โปรแกรม SPSS มาฝาก ที่ลิงค์นี้ครับ

http://watpon.com/www/mod/resource/view.php?id=7

ดีใจที่คุณพนมไพรใช้ประโยชน์จากบล็อกในการจัดการความรู้ครับ

ประดิษฐ์ นาวิจิตร

อยากทราบว่าเรียนจบ ปวช.ไฟฟ้า (ปี 3 ) สามารถเรียนต่อปริญญาตรีด้านรัฐศาสตร์ได้ไหมในมหาวิทยาลัยกรุงเทพธนบุรีนี้

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท