ทฤษฎีผู้นำตามทฤษฎีสามมิติของเรดดิน


ทฤษฎีผู้นำตามทฤษฎีสามมิติของเรดดิน

ทฤษฎีผู้นำตามทฤษฎีสามมิติของเรดดิน

       การค้นหาคุณลักษณะของผู้นำที่ดีซึ่งเรียกว่า “คุณลักษณะอันเป็นสากล” (Universal Trait) ซึ่งมหาวิทยาลัยแห่งรัฐโอไฮโอ ได้ทำการศึกษาเกี่ยวกับผู้นำอย่างจริงจังทำให้เกิดการศึกษาพฤติกรรมผู้นำโดยพิจารณาผู้นำในสองมิติ คือ มิติมุ่งงานและมิติมุ่งสัมพันธ์ ต่อมา ปี ค.ศ.1947 ศูนย์วิจัยและสำรวจแห่งมหาวิทยาลัยมิชิแกน   ได้วิจัยและจำแนกพฤติกรรมผู้นำ  2  มิติ    เช่นเดียวกันคือ     มิติมุ่งคนและมุ่งผลผลิต ในงานวิจัยของมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด ปี ค.ศ.1950 ก็จำแนกพฤติกรรมผู้นำไว้คล้ายกันคือแบบมุ่งงาน และมุ่งสังคมสัมพันธ์ งานวิจัยเกี่ยวกับผู้นำของทั้งสามกลุ่มนี้  มุ่งพฤติกรรมผู้นำไว้คล้ายกันคือ  แบบมุ่งงาน และมุ่งสังคมสัมพันธ์ งานวิจัยเกี่ยวกับผู้นำของทั้งสามกลุ่มนี้มุ่งพฤติกรรมทั้งสองด้านในลักษณะที่สอดคล้องกัน ซึ่งต่อมา เบลค และมูดัน ได้นำมาพัฒนาเป็นทฤษฎีข่ายการจัดการโดยให้ความสำคัญแก่พฤติกรรมผู้นำ 2 มิติ เช่นเดียวกัน จะเห็นว่าการวิจัยภาวะผู้นำในระยะที่ผ่านมาเน้นความสำคัญของพฤติกรรมผู้นำเพียง 2 มิติ คือ มุ่งงานและมุ่งสัมพันธ์เท่านั้น ต่อมาเรดดิน (Reddin 1970) ศึกษาวิเคราะห์เพิ่มเติมและเสนอไว้ในทฤษฎีของเขาว่า ควรจะเพิ่มมิติมุ่งประสิทธิผลอีกมติหนึ่ง ทฤษฎีของเรดดิน จึงได้ชื่อว่าทฤษฎี 3 มิติ (3-D Theory)

ในการวิเคราะห์แบบผู้นำตามทฤษฎีสามมิติของเรดดิน จะเกี่ยวข้องกับการวิเคราะห์พฤติกรรมผู้นำตามมิติมุ่งงาน และมิติมุ่งสัมพันธ์ ซึ่งจะนำไปสู่การระบุลักษณะผู้นำพื้นฐาน 4 แบบ ของเรดดิน แต่เรดดินมีความเห็นว่าควรจะพิจารณามิติมุ่งประสิทธิผลโดยยึดสถานการณ์เป็นหลัก ตามทฤษฎีสามมิติ พฤติกรรมผู้นำทั้งสามมิติมีรายละเอียดดังนี้

  1. มิติมุ่งงาน (Task-Oriented Dimension) คือการให้ความสำคัญในเรื่องหน้าที่การงานหรือความสำเร็จของงาน
  2. มิติมุ่งสัมพันธ์ (People-Oriented Dimension) คือการให้ความสำคัญในเรื่องของคนหรือผู้ใต้บังคับบัญชา
  3. มิติมุ่งประสิทธิผล (Effectiveness Dimension) คือการพิจารณาในเรื่องความสำคัญของหน่วยงานหรือองค์การตามเป้าหมายที่วางไว้

 ตัวบ่งชี้แบบผู้นำพื้นฐานตามทฤษฎีของเรดดิน

 

ข้อพิจารณา

แบบมุ่งงานต่ำและมุ่งสัมพันธ์ต่ำ

แบบมุ่งงานต่ำแต่มุ่งสัมพันธ์สูง

แบบมุ่งงานสูงแต่มุ่งสัมพันธ์ต่ำ

แบบมุ่งงานสูงและมุ่งสัมพันธ์สูง

1. หน้าที่

2. การสื่อสาร

3. ทิศทางสื่อสาร

4.  เรื่องเวลา

5. ให้ความสำคัญ

    แก่

6.  เน้นในเรื่อง

 

7.  ตีค่าลูกน้อง

8.  ตีค่าผู้บริหาร

9. กิจกรรม

    คณะกรรมการ

    บริหาร

10.งานเหมาะสม

     กับผู้นำแบบนี้

11.งานทีไม่

     เหมาะสม

12.มุ่งให้ลูกน้อง

13.ปฏิกิริยาต่อ

     ความขัดแย้ง

14.ปฏิกิริยาต่อ

     แรงกดดัน

15.การควบคุม

     ในเชิงบวก

16.การควบคุม

    ในเชิงลบ

การแก้ไขให้ถูกเขียน

น้อยทุกทาง

มองอดีต

องค์กร

 

รักษากรรมวิธี

ของระบบ

การปฏิบัติตามกฎ

มันสมอง

ทำให้กระจ่าง

แนะแนวช่องทาง

 

การบริหาร บัญชี

สถิติ ออกแบบ

ไม่ใช่งานประจำ

 

ปลอดภัย

หลบหลีก

 

ถอนตัวและอ้าง

กฎระเบียบ

เหตุผล

 

การโต้แย้ง

การรับรอง

สนทนา

จากล่างขึ้นบน

ไม่คำนึงถึง

ผู้ใต้บังคับบัญชา

 

สนับสนุนระบบ

 

การเข้าใจคน

ความอบอุ่น

สนับสนุน ผสม

ผสาน

 

บริหารวิชาชีพการ

ฝึกฝนประสาน

มีการติดต่อกับ

บุคคลน้อย

ร่วมมือ

ทำให้ราบรื่น

 

ทำให้ไม่มีอิสระ

และเศร้าใจ

การยกย่อง

 

ไม่ยอมรับ

การครอบงำ

คำสั่ง

จากบนลงล่าง

ทันทีทันใด

ผู้บังคับบัญชา

และวิทยากร

ติดตามระบบ

เทคโนโลยี

ผลงาน

อำนาจ

ริเริ่ม ประเมิน

ชี้นำ

 

งานผลิต

งานขาย

งานที่มีอำนาจต่ำ

 

ปฏิบัติ

ระงับ

 

เข้าครอบงำ

กล้าตัดสินใจ

รางวัล

 

การลงโทษ

 

การเข้าร่วม

ประชุม

ทั้งสองทาง

เพื่อนร่วมงาน

เพื่อร่วมงาน

 

ประสานระบบ

เทคนิคสังคม

การเข้าร่วมทีม

การทำงานเป็นทีม

ทำมาตรฐานการทดสอบ การจูงใจ

 

ที่ปรึกษา

ผู้จัดการ

งานประจำ

 

ทำงาน

ใช้ให้เป็นประโยชน์

หลีกเลี่ยง

การตัดสินใจ

อุดมคติ

 

ประนีประนอม

แหล่งที่มา : เรดดิน 1970:27

หมายเลขบันทึก: 376378เขียนเมื่อ 18 กรกฎาคม 2010 07:31 น. ()แก้ไขเมื่อ 15 มิถุนายน 2012 22:51 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-อนุญาตแบบเดียวกันจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (1)
พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท