อำนาจแฝงแห่งผู้ซื้อและผู้ขายผลิตภัณฑ์แก่บริษัท 2


ปัจจัยกำหนดอำนาจต่อรองของผู้ซื้อ

ปัจจัยกำหนดอำนาจต่อรองของผู้ซื้อ

1.  ผู้ซื้อมีน้อย ผู้ซื้อมีไม่กี่ราย ผู้ขายมีจำนวนมาก ผู้ซื้อย่อมมีอำนาจการต่อรองที่สูงมาก    เช่น ไทยกับญี่ปุ่นไงล่ะค่ะ ตลาดส่งออกของไทยส่วนใหญ่คือ ญี่ปุ่น การตัดสินใจของญี่ปุ่นย่อมส่งผลกระทบต่อภาวะเศรษฐกิจของไทยแน่คะ่ แต่สินค้าของญี่ปุ่นที่ส่งมาไทยนั้นเป็นสัดส่วนตำ่มากเมื่อเทียบกับมูลค่าการส่งออกของญี่ปุ่น อำนาจการต่อรองของญี่ปุ่นจึงอยู่สูงมาก จึงไม่น่าแปลกใจเลยว่าทำไมการเจรจาการค้าระหว่างไทยกับญี่ปุ่นจึงไม่เกิดผลประโยชน์ต่อฝ่ายไทยอย่างเต็มที่

2.  สินค้าที่ผลิตได้ในอุตสาหกรรมนั้นมีลักษณะที่เป็นสินค้ามาตรฐาน(syandard product) ซึ่งสินค้าของผู้ผลิตแต่ละรายไม่มีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญหรือยากที่สร้างความแตกต่างให้เกิดขึ้นในสายตาของผู้ซื้อได้ เช่น น้ำตาล  สุรา ผู้ซื้อสามารถเลือกซื้อรายใดก็ได้ และการที่ผู้ซื้อจะเลิกซื้อจากผู้ผลิตรายหนึ่งไปสู่การซื้อจากผู้ผลิตอีกรายหนึ่ง ต้นทุนหรือความเสียหายจากการเปลี่ยนแปลงนั้น(switch cost)จะมีอยู่น้อยหรือไม่มีเลย

แล้วพบกันใหม่ ภาค 3 ค่ะ

หมายเลขบันทึก: 368523เขียนเมื่อ 22 มิถุนายน 2010 20:53 น. ()แก้ไขเมื่อ 15 เมษายน 2012 03:03 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-อนุญาตแบบเดียวกันจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (5)

อาวพี่ทำไมสั้นจังเลยอะ

ยังไงสู้ๆๆค่ะ

อ่านแล้วค่ะ ได้ความรู้มากเลยค่ะ

อ่านแล้วได้ความรู้เพิ่มมานิดหนึ่ง

อย่างนี้..ต้องคอยติดตาม..ภาคต่อไป

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท