ปัจจัยที่ทำให้ Mendel ประสบความสำเร็จ


อิสรภาพ ศรีระคาม เลขที่ 4 ม.6/1

 

                  ปัจจัยที่ทำให้ Mendel

                   ประสบความสำเร็จ

 


                                      * รู้จักเลือกที่จะศึกษา 

                    1.เลือกศึกษาแต่ลักษณะที่ตรงข้ามกันอย่างเด่นชัดหรือที่เรียกว่าความผันแปรแบบไม่ต่อเนื่อง (discontinuous variation) เช่น ความยาวของต้นถั่ว ซึ่งตรงกันข้าม คือ สูงเตี้ย

 

                    2.เลือกศึกษาแต่ลักษณะที่ถูกควบคุมด้วยยีนเพียง 1 หรือ 2 คู่ และหลีกเลี่ยงลักษณะที่ควบคุมด้วยยีนหลายคู่

 

                    3.เลือกศึกษาทีละไม่กี่ลักษณะ ทำให้สะดวกในการวิเคาะร์ผล

 

                    4.เลือกศึกษาถั่ว garden pea เพราะสามารถ self pollination สะดวกแก่การผสมข้ามด้วยมือ และมีอายุสั้น

 


                                              * รู้จักวางสิธีการศึกษา

 

                     1.เริ่มผสมรุ่นพ่อแม่ (P-generation)ด้วยพนธุ์แท้ (pure line) ในลักษณะที่ตรงกันข้าม

 

                     2.เมื่อรุ่นลูก(1st filial generation) เกิดขึ้น จะสังเกตว่าลักษณะที่ปรากฏ(phenotype) เหมือนพ่อพันธุ์หรือแม่พันธุ์หรือไม่เหมือนเลย

 

                     3.ลองผสม F1 เพื่อดูลักษณะที่ปรากฏ(phenotype) ในรุ่น F2 (2nd filial generation) และนับจำนวนว่ามีกี่ต้นที่แสดงลักษณะเหมือนพ่อพันธุ์แม่พันธุ์

 

                    4.นำตัวเลขที่ได้จากการผสมในลักษณะต่างๆ ของถั่ว 7 ลักษณะ พบว่าตัวเลขที่เป็นอัตราส่วนนี้มีนัยสำคัญ จึงตั้งสมมติฐานขึ้น

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

คำสำคัญ (Tags): #biology
หมายเลขบันทึก: 363208เขียนเมื่อ 2 มิถุนายน 2010 16:03 น. ()แก้ไขเมื่อ 12 กุมภาพันธ์ 2012 14:27 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-อนุญาตแบบเดียวกันจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท