กฎหมายเศรษฐกิจระหว่างประเทศ


การพัฒนาเศรษฐกิจอาเชียน

        เนื่องจากตั้งแต่ปลายทศวรรษที่ 1980จนถึงต้นทศวรรษที่ 1990กระแสคิดก้นทางการค้าเพื่อปกป้องผลผลิตและผลประโยชน์พายในของบรรดาประเทศต่างๆโดนเฉพาะอย่างยิ่งประเทศมหาอำนาจทางเศรษฐกิจเช่น สหรัฐอเมริกา กลุ่มประชาคมยุโลปและญี่ปุ่นได้ทวีความรุนแรงมากขึ้นเป็นลำดับชึ่งได้ส่งผลกระทบโดยตรงต่อประเทศกำลังพัฒนาทั้งหลาย รวมทั้งประเทศแถบเอเชียตะวันออกเฉียงไต้ชึ่งต้องอาศัยภาคการส่งออกเป็นแกนนำในการพัฒนาเศราฐกิจของประเทศอีกทั้งจะต้องพึ่งพาตลาดของบรรดาประเทศมหาอำนาจทางเศรษฐกิจเหล่านี้เป็นหลัก ในขณะที่ประเทศมหาอำนาจเหล่านี้ได้เปลี่ยนแปลงบทบาททางเศรษฐกิจ โดยหันมาลวมกลุ่มทำการค้าระหว่างกันเองมากขึ้น ในขณะเดียวกันนั้นก็ลดปลิมาณการค้ากับประเทศกำลังพัฒนาชึ่งการเปลี่นแปลงในลักษณะดั่งกล่าวทำให้การค้าของโลกเปลี่ยนแปลงและส่งผลกระทบโดยตรงต่อการพัฒนาทางเศรษฐกิจของประเทศกำลังพัฒนาให้ต้องประสบกับปัญหาและอุปสรรคมากยิ่งขึ้น

              สำหลับอาเชียน หรือ สมาคมประชาชาติเอเชียตะวันออกเฉียงใต้นั้นได้มีกานจัดตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 8 สิงหาคม 1967 โดยได้มีการประกาศไว้ใน " ปฏิญญากรุงเทพ " ( Bangkok Dceclaration ) ถึงเจตนารมของอาเชยีนว่า " เพื่อที่จะเร่งรัดความเจรีญเตีบโตทางเศรษฐกิจ ความก้าวหน้าของสังคมและการพัฒนาทางวัฒนทรรมในภูมิภาคเพื่อที่จะพยายามสล้างสำนึกร่วมกันเพื่อความเป็นเอกภาพในภูมินี้ "

            ชึ่งนับตั้งแต่ได้มีการจัดตั้งอาเชียนเป็นต้นมาประเทศในกลุ่มอาเชี่ยนก็ได้มีการพัฒนาการทางการร่วมมือโดยเฉพาะอย่างยิ่งทางเศรษฐกิจมาเป็นลำดับ แต่มาประกฏเด่นชัดอย่างเป็นทางกานขึ้นภายหลังการประชุมสุดยอดผู้นำอาเชียนที่บาหลี ประเทศอินโดนีเชีย เอนกุมภาพันธ์ 1976 ชึ่งนับว่าเป็นบาทก้าวที่สำคัญ เนื่องจากเป็นก้าวแรกที่อาเชียนให้ความสำคัญกับความร่วมมือทางเศรษฐกิจอย่างเป็นทางกาน โดยผู้นำของอาเชียนทั้ง 5 ประเทศได้ร่วมลงนามในปฏิญญาสมานฉันท์แห่งอาเชียน ( the Declaration of ASEAN concord ) โดยมีสาระสำคัญในการเร่งรัดพัฒนาความร่วมมือทางเศรษฐกิจ ตลอดจนร่วมมือกันทางเศรษฐกิจในนี้มี 4 เป้าหมายหลักคือ

1. ความร่วมมือกันในสินค้าพึ้นฐานชึ่งได้แก่อาหาร และพลังงานในกรณีที่เกิดภาวะวิกถต

2. ความร่วมมือกันทางอุตสาหกรม

3. ความร่วมมือกันทางการค้า

4. ความร่วมมือกันในการแก้ปัญหาสินค้าโภคภัณฑ์ระหว่างประเทศสมาชิก

           หลังจากการประชุมสุดยอดผู้นำอาเชียนครั้งนี้ ประเทศสมาชิกก็ได้มีการร่วมมือกันในทางเศรษฐกิจมาโดยลำดับ ต่อมาในการประชุมสุดยอดผู้นำอาเชียนครั้งที่3ที่มะนีลา ประเทศฟีลิบปินส์ได้มีการให้ทบทวนนโยบายทางเศรษฐกิจระหว่างกัน ตลอดจนวิธีการในการดำเนีนความสัมพันธ์กับต่างประเทศ  นอกจากนี้แล้วยังได้มีการแสดงเจตนารมย์ที่จะเพี่มความพยายามในการขยายการค้าภายในอาเชียนดว้ยการปลับปลุงระบบสิทธิพิเศษทางการค้าและจำกัดมาตรการที่กีดกันทางการค้าให้หมดไป 

          ต่อมาชึ่งได้ทำให้เศรษฐกิจของอาเชียนมีความเจรีญเตีบโตอย่างรวดเร็ว ในที่สุดที่ประชุมสุดยอดอาเชียนครั้งที่4ก็ได้มีการตกลงที่จะจัดตั้งเขตการค้าเสรีอาเชียนให้บรรลุวัตถุประสงค์ภายในกำหนดเวลา15ปี ในปี1994บรรดาประเทศสะมาชิกอาเชียนก็ได้ตกลงกันเร่งรัดการสล้างตั้งเขตการค้าเสรีอาเชียนด้วยหย้อเวลาจาก15ปีที่ได้กำหนดในเบื้องต้นมาเป็น10ปีเพราะการสล้างตั้งเขตการค้าเสรีอาเชียนขึ้นจะต้องทำให้อาเชียนกายเป็นตลาดใหญ่ขึ้นในพากพึ้นเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และมีกำลังต่อรองกับประเทศมหาอำนาจและสะหะพาบยุโลบได้.

หมายเลขบันทึก: 35228เขียนเมื่อ 23 มิถุนายน 2006 12:33 น. ()แก้ไขเมื่อ 11 กุมภาพันธ์ 2012 15:11 น. ()สัญญาอนุญาต: จำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (2)

อ่านแล้วค่ะคุณบุญมี เล่าให้เราทราบถึงแนวคิดของรัฐบาลลาวต่ออาเซียนบ้างก็ดีนะคะ

อยากอ่านค่ะ

อาจารย์บุญมีค่ะ เล่าเลื่องนโยบายต่างประเทศลาวต่ออาเชียนให้ทราบก็ดีนะคะ

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท