บันไดร้อยกรอง ๒ สัมผัสใน


       สัมผัสในคือสัมผัสภายในวรรค   มีทั้งสัมผัสสระและสัมผัสอักษร

    นิยมใช้ในการแต่งกลอนสุภาพ  แต่ก็ปรากฏในโคลงสี่สุภาพ  และคำประพันธ์ประเภทกาพย์ด้วย   กวีที่มีผลงานเป็นเลิศด้านสัมผัสใน คือ สุนทรภู่

             ตัวอย่างสัมผัสในของสุนทรภู่   ในแต่ละวรรค  ที่เด่นๆ

          - เส้นเขียวคือคำสัมผัสในที่เป็นสัมผัสอักษร

           - เส้นแดง คือ คำสัมผัสในที่เป็นสัมผัสสระ

  หมายเหตุ  ระหว่างวรรคแต่ละวรรค ไม่มีความเกี่ยวพันกัน  เพียงแต่นำมาวางใกล้กัน  เพื่อความสะดวกในการวางภาพเท่านั้น

    ที่มาของกลอน : นิราศภูเขาทอง

    เหตุที่กลอนของสุนทรภู่มีความไพเราะมากเพราะคำทุกคำต่างมีความสัมพันธ์ เกี่ยวเนื่องคล้องจองกัน  เมื่ออ่านออกเสียงจึงได้อรรถรสเป็นอย่างยิ่ง

หมายเลขบันทึก: 330116เขียนเมื่อ 22 มกราคม 2010 18:33 น. ()แก้ไขเมื่อ 6 กันยายน 2013 22:17 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-อนุญาตแบบเดียวกันจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (2)

เข้ามาฝึกอ่านค่ะ..มีประโยชน์มากๆ ขอนำไปสอนเด็กๆด้วยน่ะค่ะ

ขอบคุณกั๊บ  ..ใจดีจัง..

สวัสดีค่ะ ครูบันเทิง  เพิ่งเปิดมาเห็นว่าครูบันเทิงเข้ามาทักทายเกือบปี  แล้ว

ขอโทษค่ะ  

ขอโทษค่ะ

ขอโทษค่ะ

อนุญาตให้แสดงความเห็นได้เฉพาะสมาชิก
พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท