ความมหัศจรรย์ในกะทิ และ น้ำมันมะพร้าว เหมือน น้ำนมแม่ ที่ดีที่สุดในโลก เพื่อสุขภาพที่ดีทั้งภายในและภายนอกร่างกาย


กรดลอริกฆ่าและป้องกันเชื้อโรคเช่น รา ยีสต์ โปรโตซัว ไวรัส และหวัด2009-2010

  น้ำนมแม่ และในน้ำมันมะพร้าว

 มีกรดไขมันที่เหมือนน้ำนมแม่ 7ชนิด

  มี กรดลอริกสูง ถึง 50%

 

 ชื่อกรดไขมันในน้ำนมแม่         ชื่อ กรดไขมันในน้ำมันมะพร้าว

 

1. กรดคาไพรลิก         8.0              กรดคาไพรลิก         7.8

2. กรดคาพริก            10.0             กรดคาพริก              7.5

3. กรดลอริก               12.0             กรดลอริก                 50.0

4. กรดไมรีสติก           14.0            กรดไมรีสติก             18.0

5. กรดปาล์มิติก          16.0             กรดปาล์มิติก             9.5

6. กรดปาล์มโดเลอิก   16.1            กรดปาล์มโดเลอิก      0

7. กรดสเตียริก            18.0            กรดสเตียริก               5.0

8. กรดโอเลอิก            18.1             กรดโอเลอิก               8.2

 

 9. กรดลิโนเลอิก                                     18.2

10. กรดแกมมา-ลิโนเลนิก                     18.3

11. กรดกอนโดอิก                                  20.1

                                                                 20.2

12. กรดไดโฮโม-แกมมา-ลิโนเลนิก        20.3

13. กรดอะราคิโดนิก                                20.4

14. กรดอีโคซาเพนตะอีโนอิก(EPA)         20.5

15. กรดโดโคชีโนอิก                                 22.1

16. กรดโดโคซาเตตระอีโนอิก                   22.4

17. กรดโดโคซาเพนตะอีโนอิก                  22.5 

18.กรดโดโคซาเฮกซะอิโนอิก(DHA)        22.6

                                             

                                                          

ในน้ำมันมะพร้าวมีกรดไขมัน  7 ชนิด  ที่เหมือนน้ำนมแม่ ของเราทุกคน ช่วยสร้างภูมิคุ้มกันให้ร่างกายเหมือนเรากินน้ำนมแม่ ตอนเราเป็นทารกตัวน้อยๆ ก่อนกินอาหารอื่นหลายเดือน  โดยเฉพาะ กรดลอริก 50% ที่เมื่อเข้าไปใน ร่างกายจะเปลื่ยน เป็นสารชื่อ " โมโนลอลิน" คือ สารที่เป็นยาปฏิชีวนะที่เรารับประทานยา เพื่อ ฆ่าเชื้อโรค หรือ ลดการอักเสบ จากการได้รับเชื้อโรคมาแล้วทำให้ป่วย

                                                                                                                                           

   * ขอบคุณข้อมูลจากหนังสือ  วิทยาศาสตร์การอาหารของไขมันและน้ำมัน เขียนโดย   ศาสตราจารย์ ดร. นิธิยา  รัตนาปนนท์ ระดับ 10  ภาควิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร คณะอุตสาหกรรมการเกษตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ วิทยาเขตดอยคำ

   สรุปเปรียบเทียบเพื่อให้เห็นชัดเจน โดย กานดา แสนมณี

 

                  


   น้ำม้นมะพร้าสกัด แบบโบราณ


  ด้วยความปรารถนาดี  กานดา แสนมณี

หมายเลขบันทึก: 297562เขียนเมื่อ 14 กันยายน 2009 18:16 น. ()แก้ไขเมื่อ 6 กันยายน 2013 21:32 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-อนุญาตแบบเดียวกันจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท