หน่วยเรียนที่ 5


กระบวนการสังเคราะห์แสง
หน่วยเรียนที่  5

กระบวนการสังเคราะห์แสง

 

บทนำ                     การสังเคราะห์แสง  เป็นกระบวนการของสิ่งมีชีวิตที่สามารถนำเอาพลังงานแสง  มาใช้ในการสร้างสาร  คาร์โบไฮเดรท  กระบวนการนี้เกิดขึ้นเนื่องจากภายในเซลล์ของสิ่งมีชีวิตมีรงควัตถุชนิดต่าง ๆ ดูดพลังงานแสงได้  แล้วเปลี่ยนเป็นพลังงานศักย์เคมีรงควัตถุต่างๆ เหล่านี้  ได้แก่  คลอโรฟิลล์  คาโรทีนอยด์      ไฟโคบิลิน  โดยบรรจุอยู่ในคลอโรพลาสต์  ซึ่งเป็นหน่วยทำหน้าที่สังเคราะห์แสงโดยเฉพาะ  การสังเคราะห์แสงแบ่งออกเป็น  2  ขึ้นตอน ขึ้นตอนแรกเป็นปฏิกิริยาที่ใช้แสงซึ่งจะสร้างสารให้พลังงานสูงได้แก่  ATP  และ  NADH + H+  ขึ้นมา     ขั้นตอนที่สองเป็นปฏิกิริยาที่ไม่ใช้แสง  โดยมีการนำเอาสารให้พลังงานสูงซึ่งได้จากปฏิกิริยาที่ใช้แสงมาสร้างอินทรีย์สารจากก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์  จึงเรียกปฏิกิริยานี้อีกอย่างว่า  การตรึงคาร์บอนไดออกไซด์  พืชแต่ละชนิดจะมีวิธีการตรึงคาร์บอนไดออกไซด์แตกต่างกัน  ในปัจจุบันนักสรีรวิทยาของพืชพบ  3  ประเภทได้แก่  C3 – pathway, C4 – pathway , และ CAM

 

หัวเรื่อง                                 การสังเคราะห์แสงของพืช

1.       ความหมายของการสังเคราะห์แสง

2.       ประวัติการค้นคว้ากระบวนการสังเคราะห์แสง

3.       กระบวนการสังเคราะห์แสง

4.       ความแตกต่างระหว่างพืช  C3  กับพืช  C4

5.       ปัจจัยที่มีต่ออัตราการสังเคราะห์แสง

 

สนใจเนื้อหาบทเรียน ติดต่อ รศ.พงศ์วัชร สิริจันทรวงศ์



ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท