การแยกตัวประกอบ


การแยกตัวประกอบ

การแยกตัวประกอบ

ให้นักเรียนพิจารณาการเขียนจำนวนรูปการคูณของตัวประกอบ

ตัวประกอบของ  18  คือ  1, 2, 3, 6, 9, 18

เราสามารถเขียน  18   ให้อยู่ในรูปการคูณกันของตัวประกอบคือ

18   =  1  ×  18     

18   =  2  ×  9

18   =  3  ×  6

จะเห็นว่าเราเขียนจำนวนในรูปการคูณของตัวประกอบได้แล้ว ต่อไปนี้ให้

นักเรียนพิจารณาจำนวนนับที่ไม่ใช่จำนวนเฉพาะ  เช่น

                พิจารณาการเขียน  18  ในรูปการคูณของตัวประกอบสองตัวที่ไม่มีตัวใดเป็น  1

                18   =  2  ×  9    หรือ     18   =  3  ×  6

นักเรียนจะเห็นว่า   9  และ  6     ไม่ใช่ตัวประกอบเฉพาะ

ดังนั้น  เราสามารถเขียน    9  และ  6  ในรูปการคูณของตัวประกอบต่อไปได้อีก คือ

                18   =  2  ×  9        หรือ     18   =  3  ×  6

                       =  2  ×  3  ×  3                    =  3  ×  3  ×  2   

                ดังนั้น    18   =  2  ×  9    หรือ     18   =  3  ×  6   สามารถเขียนในรูปการคูณกัน

    ของตัวประกอบเฉพาะได้     18  =   2  ×  3  ×  3    นั่นเอง

สรุป   การเขียนจำนวนให้อยู่ในรูปการคูณของตัวประกอบเฉพาะ เรียกว่า การแยกตัวประกอบ

 

หมายเลขบันทึก: 267580เขียนเมื่อ 12 มิถุนายน 2009 10:19 น. ()แก้ไขเมื่อ 19 มิถุนายน 2012 12:19 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-อนุญาตแบบเดียวกันจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (35)

ได้ความรู้มากมายเลยค่ะ

ได้ความรู้เยอะเเยะเลยค่ะ-

มีความรู้หลายๆอย่างค่ะ

ได้ความรู้ในเรื่องด้าน

ได้ความรู้และความคิดมากมาย

ได้ความรู้หลายอย่างค่ะ

ได้ความรู้มาก

ได้ความรู้มากมายครับ

มีวคามรู้และได้ความรู้ใหม่ๆเข้ามาในชีวิตประจำวัน

ได้ความรู้มากค่ะ

หนูได้ความรู้มากค่ะ

ได้ความรู้มากค่ะ

ได้เรียนรู้

ได้ความรู้และสนุก

ได้ความรู้และสนุก

อยากแต่ง่าย

ได้ความรู้ และ สนุก

ได้เรียนรู้

ได้เรียนรู้

ได้ความรู้จากคณิตศาสตร์

ได้ความรู้คณิตศาสตร์

ได้เรียนรู้มาก

ได้ความรู้มาก

ได้ความรู้มาก

ได้เรียนรู้

เข้าใจง่าย

แล้วท่า 2301 อะ มันจะแยกตัวประกอบยังงัยงับ ตอบทีงับ

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท