Inquiry การสอบถามหาข้อมูลผ่านทางเครื่องปลายทาง


blended learning Ubiquitous M learning ATM

วันที่ 7  กุมภาพันธ์  2552

 ความหมายของ Inquiry  หมายถึง การสอบถามหาข้อมูลผ่านทางเครื่องปลายทาง(termianl) เพื่อให้คอมพิวเตอร์ไปค้นหาข้อมูลที่ต้องการให้ โดยปกติข้อมูลเหล่านี้จะต้องเก็บๆไว้ในจานบันทึก เพื่อให้ค้นหาได้รวดเร็ว เมื่อหาพบแล้ว จึงจะแสดงผลให้ดูบนจอภาพ ตัวอย่างๆ ที่จะอธิบายในเรื่องนี้ ก็คือเครื่องถอนเงินอัตโนมัติ  ATM

blended learning  เรื่อง  การเรียนการสอนแบบผสมผสาน ศึกษาค้นคว้าทางอินเทอร์เน็ต ทุกคนต้องค้นคว้าเอง 

Blended Learning

พงษ์ศักดิ์ บุญภักดี

Pongsak Boonphakdee : www.boonphakdee.com

 

 

Blended Learning : การเรียนรู้แบบผสมผสาน : "It is the use of two or more distinct methods of Teaching and training"

 

 

Blended Learning คืออะไร?(What is Blended learning?)

 

ช่วงนี้กำลังหาหัวข้อวิจัยอยู่ครับ ตอนที่เข้าร่วมประชุมวิชาการที่ ม.รามคำแหง ได้ฟังการบรรยายของ Professor  Dr.Curt J. Bonk บรรยายเกี่ยวกับ Blended learning ก็เลยสนใจและลองสืบค้นข้อมูลเพิ่มเติม ทำให้รู้ว่า Blended learning Environments Design น่าศึกษาและนำมาเป็นประเด็นในการทำงานวิจัยของผม ช่วงนี้ก็กำลังรวบรวมข้อมูล ศึกษา ค้นคว้า อยู่ครับ

   Blended learning เป็นการผสมผสานวิธีหลายๆวิธี(Multiple Learning Methods) เพื่อใช้ในการจัดการเรียนการสอน(teaching and learning) เพื่อส่งเสริมให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้และเกิดทักษะด้านการปฏิบัติ(Practice Skill) เช่น การสอนในชั้นเรียนร่วมกับการสอนบบออนไลน์(a combination of face-to-face and Online Learning) ซึ่งตรงกับความคิดของผมที่ว่า "ไม่มีวิธีการสอนแบบใดแบบหนึ่งที่จะช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้(Learning)ได้อย่างมีประสิทธิภาพ อาจารย์ผู้สอนจะต้องใช้วิธีการหลายๆวิธี นำมาผสมผสานกัน(Blended) เพื่อส่งเสริมให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ " และ Blended learning เหมาะกับการศึกษาด้านวิชาชีพ การฝึกอบรม การพัฒนาทักษะด้านฝีมือที่ต้องอาศัยความชำนาญ เพื่อพัฒนาผู้เรียนจาก Novice ไปสู่ Expert.

 

วันที่ 14  กุมภาพันธ์ 2552

สัมมนา เรื่อง  blended learning  คือ การเรียนการสอนแบบผสมผสาน เวลา 9.00 น.-11.00 น.

เวลา 11.00 น.ทดสอบย่อย ตามห้วข้อที่กำหนด

1. ความหมาย  2. ความสำคัญ   3.ประโยชน์   4.ข้อดีข้อเสีย.............

Blended Learning

พงษ์ศักดิ์ บุญภักดี

Pongsak Boonphakdee : www.boonphakdee.com

 

 

Blended Learning : การเรียนรู้แบบผสมผสาน : "It is the use of two or more distinct methods of Teaching and training"

 

 

Blended Learning คืออะไร?(What is Blended learning?)

 

ช่วงนี้กำลังหาหัวข้อวิจัยอยู่ครับ ตอนที่เข้าร่วมประชุมวิชาการที่ ม.รามคำแหง ได้ฟังการบรรยายของ Professor  Dr.Curt J. Bonk บรรยายเกี่ยวกับ Blended learning ก็เลยสนใจและลองสืบค้นข้อมูลเพิ่มเติม ทำให้รู้ว่า Blended learning Environments Design น่าศึกษาและนำมาเป็นประเด็นในการทำงานวิจัยของผม ช่วงนี้ก็กำลังรวบรวมข้อมูล ศึกษา ค้นคว้า อยู่ครับ

   Blended learning เป็นการผสมผสานวิธีหลายๆวิธี(Multiple Learning Methods) เพื่อใช้ในการจัดการเรียนการสอน(teaching and learning) เพื่อส่งเสริมให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้และเกิดทักษะด้านการปฏิบัติ(Practice Skill) เช่น การสอนในชั้นเรียนร่วมกับการสอนบบออนไลน์(a combination of face-to-face and Online Learning) ซึ่งตรงกับความคิดของผมที่ว่า "ไม่มีวิธีการสอนแบบใดแบบหนึ่งที่จะช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้(Learning)ได้อย่างมีประสิทธิภาพ อาจารย์ผู้สอนจะต้องใช้วิธีการหลายๆวิธี นำมาผสมผสานกัน(Blended) เพื่อส่งเสริมให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ " และ Blended learning เหมาะกับการศึกษาด้านวิชาชีพ การฝึกอบรม การพัฒนาทักษะด้านฝีมือที่ต้องอาศัยความชำนาญ เพื่อพัฒนาผู้เรียนจาก Novice ไปสู่ Expert.

 

http://www.radompon.com/dlibrary/

นวัตรกรรมเทคโนโลยีในอีเลิร์นนิ่ง

1. เรื่อง   U-Learning (Ubiquitous Learning)
2. ชื่อผู้ร่วมกลุ่ม
1. นางสาว ศยามล นองบุญนาก 2. นายไพศักดิ์  บรรลือทรัพย์
3. ความหมาย
Ubiquitous Learning
                 
Ubiquitous ( ยูบิควิตัส ) เป็นภาษาลาติน มีความหมายว่า อยู่ในทุกแห่ง หรือ มีอยู่ทุกหนทุกแห่ง Mark Weiser (มาร์ค ไวเซอร์) แห่งศูนย์วิจัย Palo Alto ของบริษัท Xerox ประเทศสหรัฐอเมริกา ได้ให้คำนิยาม Ubiquitous Computing (ยูบิควิตัสคอมพิวติง) ไว้ว่า  หมายถึงกระบวนการบูรณาการ (integrating) คอมพิวเตอร์เข้ากับ Physical World อย่างไร้ของเขต (seamlessly) การพัฒนาสิ่งเหล่านี้ทำให้เทคโนโลยีต่างๆ เข้ามาเกี่ยวข้องกับการดำเนินชีวิตประจำวัน Ubiquitous Computing รวมถึงเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ประเภท microprocessors โทรศัพท์เคลื่อนที่ (mobile phones) กล้องดิจิตอล และอุปกรณ์อื่นๆ  หมายความว่าเราสามารถเข้าถึงข้อมูลสารสนเทศได้ทุกหนทุกแห่งสภาพแวดล้อมที่สามารถใช้คอมพิวเตอร์เชื่อมต่อกับเครือข่ายไม่ว่าจะอยู่ในที่แห่งใด

Ubiquitous Learning  คือ การจัดการเรียนการสอนหรือบทเรียนสำเร็จรูป (Instruction Package) ที่นำเสนอเนื้อหาและกิจกรรมการเรียนการสอนผ่านเทคโนโลยีเครือข่ายทั้งแบบใช้สายและไร้สาย รวมไปถึงพวกอุปกรณ์ต่างๆ ที่ใช้ในการประมวลผลแบบไร้ขอบเขต ผู้เรียนสามารถเรียนได้ทุกที่และทุกเวลา  ที่จริงแล้ว น่าจะมาจากคำว่า Ubiquitous e-learning แต่ e- ได้ถูกตัดหายไป เนื่องจากเป็นการเรียนรู้ที่เป็นส่วนหนึ่งของการดำเนินชีวิต ซึ่งเกี่ยวพันธ์กับวิธีการเรียนหลากหลายแบบรวมกัน ทั้งแบบดังเดิมและการใช้เทคโนโลยีด้านสารสนเทศด้วย

 4. ลักษณะที่สำคัญ และการนำมาประยุกต์ใช้ในการจัดการเรียนการสอนอีเลิร์นนิ่ง

นับตั้งแต่การคิดค้นอินเตอร์เน็ตและเว็บไซต์ กระบวนการเรียน (Education Process) พัฒนาการในวงการการศึกษาได้พัฒนาควบคู่ไปกับวิวัฒนาการทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ซึ่งส่งผลให้เกิดการเรียนรู้แบบไร้ขอบเขต (Ubiquitous Learning)   ในลักษณะทุกที่ ทุกเวลา การเรียนเกิดขึ้นรอบตัวผู้เรียน เพราะข้อมูลสารสนเทศได้รวมไว้ในอุปกรณ์ต่างๆ ขอเพียงผู้เรียนพร้อมที่จะเรียน   โดยเรียกความสัมพันธ์ของมนุษย์กับเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ว่า เป็นแบบ Many to one relationship (Weiser, 1993) ซึ่งเป็นความสัมพันธ์แบบสามัญและเกี่ยวพันธ์กับ Ubiquitous Computing5. ข้อดี และข้อจำกัดของ Ubiquitous Learning
    ข้อดีของ Ubiquitous Learning

     1.  Adaptive learning เป็นการเรียนรู้ที่ปรับวิธีการให้ตรงกับรูปแบบการเรียนรู้ของผู้เรียน การสอนที่ปรับให้เข้ากับผู้เรียนทำให้เกิดการเรียนรู้ได้รวดเร็ว ประสิทธิภาพสูงและเข้าใจได้มากกว่า เช่น การติดตามกิจกรรมการเรียนของผู้เรียน การแปรผล และใช้ข้อมูลใหม่ๆ เสริมกระบวนการเรียน (Paramythis and Loidl-Reisinger, 2004)

    2.   Ubiquitous Learning Environment (ULE) เป็นสถานการณ์การเรียนรู้แบบ pervasive (omnipresent education or learning) การเรียนเกิดขึ้นรอบตัวนักเรียนโดยนักเรียนอาจไม่รู้ตัว ข้อมูลได้รวมไว้ในอุปกรณ์ต่างๆ ขอเพียงนักเรียนพร้อมที่จะเรียน ที่จริงแล้ว น่าจะมาจากคำว่า Ubiquitous e-learning แต่ e- ได้ถูกตัดหายไป เนื่องจากเป็นการเรียนรู้ที่เป็นส่วนหนึ่งของการดำเนินชีวิต ซึ่งเกี่ยวพันธ์กับวิธีการเรียนหลากหลายแบบรวมกัน ทั้งแบบดังเดิมและการใช้เทคโนโลยีด้านสารสนเทศด้วย

   การเชื่อมต่อกับเครือข่ายไม่ว่าผู้ใช้งานจะเคลื่อนย้ายไปยังสถานที่ต่างๆ

   การให้บริการที่สามารถเปลี่ยนไปตามสถานการณ์ทั้งสถานที่  อุปกรณ์ ปัจจัยทางกายภาพอื่นๆ

   การบูรณาการ U-learning นั้นทำให้เกิดประโยชน์ต่อประสบการณ์การเรียนแบบกลางแจ้ง (outdoor) และการเรียนในร่ม (indoor) ตัวอย่างการเรียนกลางแจ้งได้แก่ ในสวน ศูนย์กลางของเมือง ในป่า ส่วนการเรียนในร่ม ได้แก่ ในพิพิธภัณฑ์ ศูนย์การเรียนรู้ ห้องปฏิบัติการ หรือที่บ้าน

UK Equator Interdisciplinary Research Collaboration ประเทศอังกฤษ ได้ทำการศึกษา Digital Augmentation เพื่อเชื่อมกระบวนการเรียนรู้ในสถานที่จริงและการเรียนในห้องเรียน โดยเลือกวิชานิเวศวิทยาสำหรับนักเรียนระดับประถมปลาย ศึกษานิเวศวิทยาองป่า เครื่องมือต่างๆ ที่ใช้ เช่น PDA กล้องส่องทางไกล การถ่ายภาพทางอากาศ คอมพิวเตอร์ เครื่องอัดเสียงและกระจายเสียง เครื่องมือติดตามนักเรียนขณะทำการทดลอง นักเรียนเก็บข้อมูลจริง โดยส่งข้อมูลที่ได้ผ่าน PDA และกลับมานำเสนอสิ่งที่ค้นพบเทียบกับข้อมูลในห้องเรียน และพบว่าการออกแบบกระบวนการเรียนสามารถทำให้ประสบการณ์การเรียนรู้ของผู้เรียนกว้างขึ้น และเชื่อมการเรียนในห้องเรียนกับชิวิตจริงได้

                 ข้อเสีย/ ข้อจำกัดของ Ubiquitous Learning

Ø    ระบบเชื่อมโยงเครือข่ายเพื่อให้ครอบคลุมถึงขนาด Ubiquitous  ต้องใช้การลงทุนสูงมาก

Ø    จำนวนผู้ใช้บริการ และผู้ที่มีความสามารถในการเข้าถึงเทคโนโลยีดังกล่าว ยังน้อย ไม่คุ้มค่าการลงทุน

วันที่ 21 กุมภาพันธ์  2552

1.ความหมาย ของ Ubiquitous

              เทคโนโลยีพื้นฐาน คือ   เทคโนโลยีที่จะทำให้สามารถใช้งานคอมพิวเตอร์ในทุกหนทุกแห่ง ทุกเวลา ตามหลักการของ ubiquitous ตัวอย่างเช่น เพื่อที่จะให้สามารถใช้คอมพิวเตอร์ที่ไหนก็ได้ให้เป็นเหมือนคอมพิวเตอร์ของตัวเอง จะต้องมีเทคโนโลยีในการทำให้คอมพิวเตอร์สามารถตรวจบุคคลได้ นั่นก็คือการทำให้คอมพิวเตอร์สามารถตรวจ ID ของแต่ละคนได้ เทคโนโลยีนี้เรียกกันว่า เทคโนโลยีการตรวจสอบยืนยันบุคคล (authentication technology) ซึ่งเป็นเทคโนโลยีพื้นฐานอันหนึ่งของระบบ ubiquitous
             นอกจากนี้ เนื่องจากข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคลจะกระจายไปในระบบเครือข่าย จึงมีความจำเป็นต้องมีเทคโนโลยีสำหรับการรักษา (ความปลอดภัยของข้อมูล) (Security Technology) ในระดับที่สูงมากขึ้นกว่าเดิม ดังนั้น เทคโนโลยีพื้นฐานอีกอันหนึ่งที่รองรับ ubiquitous ก็คือ เทคโนโลยีด้านความปลอดภัยของข้อมูล

2.ความสำคัญ   ของ Ubiquitous

           ในสังคมยูบิควิตัสนั้น จำเป็นต้องมีเทคโนโลยีฮาร์ดแวร์ ซึ่งมี human interface ที่เหมาะสมที่จะทำให้ทุกคนสามารถใช้งานคอมพิวเตอร์ทุกที่เหมือนเป็นของตนเองได้ เช่น เทคโนโลยี output เพื่อแสดงข้อมูลให้กับมนุษย์รับรู้ โดยผ่านจอดิสเพลย์ หรือเทคโนโลยีที่จะช่วยให้การป้อนข้อมูลเข้าสู่คอมพิวเตอร์ง่ายขึ้น เป็นต้น
      นอกจากนี้ เทคโนโลยีด้านฮาร์ดแวร์ที่ขาดไม่ได้อีกประการหนึ่ง ก็คือ เทคโนโลยีการเก็บข้อมูล (storage technology) บนเครือข่าย ทั้งนี้เพื่อที่จะสามารถเก็บข้อมูลจำนวนมากมายมหาศาลไว้บนเครือข่ายได้โดยเทคโนโลยีในกลุ่มนี้จะเน้นการพัฒนาไปในแนวทางต่าง ๆ ดังนี้
       1.เทคโนโลยีการทำผลิตภัณฑ์ให้มีขนาดเล็ก เพื่อรองรับอุปกรณ์ mobile เช่น battery และ chip ขนาดเล็ก
       2. เทคโนโลยีประหยัดพลังงาน เนื่องจากต้องมีการใช้งานในทุกหนทุกแห่ง เช่น เทคโนโลยี “sleep” ทำให้มีการหยุดทำงานของคอมพิวเตอร์ในขณะที่ไม่ได้ใช้งาน รวมทั้งการพัฒนา battery ที่มีการใช้งานนานขึ้น
      3. เทคโนโลยีแหล่งกำลังไฟฟ้า นอกจากการต้องต่ออุปกรณ์ไฟฟ้าเข้ากับแหล่งจ่ายไฟโดยตรง ก็มีการทำให้สามารถป้อนกำลังไฟฟ้าจากตัวเครื่องคอมพิวเตอร์ ผ่านสาย USB หรือต้องมีการวิจัยให้สามารถป้อนพลังงานผ่านอากาศได้
      4. เทคโนโลยีการแสดงผล (Output) ให้มีการแสดงผลในรูปแบบที่ง่ายและสะดวก เช่น จอ LCD, Voice Synthesizer
    5. เทคโนโลยีการป้อนข้อมูล (Input) นอกจาก Keyboard ก็มีการพัฒนาให้การป้อนข้อมูลง่ายขึ้น เช่น การใช้ดินสอหรือปากกาเขียนบนกระดาษ การรับคำสั่งด้วยคำพูด (speech recognition

3. ประโยชน์ของ Ubiquitous

ตัวอย่างเทคโนโลยีของ Ubiquitousในกลุ่มนื้ ต้องมี user name / password ในการใช้งานต่าง ๆ หรือรหัสลับสำหรับเบิกเงิน ATM
     - ใบรับรองอิเล็กทรอนิกส์ หรือลายเซ็นอิเล็กทรอนิกส์
     - IC Card
     - Finger Scan
     - เทคโนโลยีชีวภาพในการตรวจสอบบุคคล
     - เทคโนโลยีการเข้ารหัส
     - เทคโนโลยีการสำรองข้อมูล (Computer Backup System)
     -  ระบบรับส่งหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ 
e-filing  สพฐ. ถึง สพท. ถึง โรงเรียน
      - ระบบรับส่งหนังสืออิเล็กทรอนิกส์  e-office ระหว่าง สพท.กับ  โรงเรียน
)

4. ข้อดีข้อเสีย

        4.1 เทคโนโลยีการประยุกต์ใช้งาน (Application Technology)
เทคโนโลยีที่ช่วยให้สามารถให้บริการแก่ผู้ใช้ได้จริงๆ คือ เทคโนโลยีการประยุกต์ใช้งาน เทคโนโลยีนี้มีส่วนสำคัญอย่างมากที่จะทำให้ผู้ใช้รู้สึกอย่างแท้จริงถึงคุณประโยชน์ของคอมพิวเตอร์ ในสังคมยุค ubiquitous
       4.2  เทคโนโลยีการเข้าถึงเทคโนโลยีการเข้าถึง เพื่อใช้อุปกรณ์ต่างๆ ที่มีอยู่บนระบบเครือข่าย เทคโนโลยีเหล่านี้ ได้แก่ เทคโนโลยีเครือข่าย (network technology) เทคโนโลยีการเข้าถึงอุปกรณ์ (device access technology) และเทคโนโลยีการเข้าถึงที่ใช้ในระบบการควบคุม
     4.3 เทคโนโลยีเครือข่ายที่เชื่อมโยงอุปกรณ์ (device) ต่างๆ เข้าด้วยกันทางกายภาพ ซึ่งอาจเป็นเทคโนโลยีแบบใช้สาย หรือแบบไร้สายก็ได้ ทางการใช้สาย เช่น สาย USB, Ethernet, Home PNA, ADSL, FTTH, Broadband over Power Line ส่วนทางด้านการใช้สาย เช่น Bluetooth, IrDA, Wireless LAN, เทคโนโลยีพวกโทรศัพท์เคลื่อนที่ (SMS, MMS, GPRS, EDGE, 3G, CDMA, HSPA, WiMAX, LTE)
    4.3   เทคโนโลยีการเข้าถึงอุปกรณ์นั้น เป็นเทคโนโลยีที่ใช้เพื่อค้นหาอุปกรณ์ที่ต้องการที่อยู่บนเครือข่ายและเชื่อมโยงให้ใช้งานอุปกรณ์เหล่านี้ได้ ในลักษณะ “Plug & Play”
          นอกจากเทคโนโลยีการเข้าถึงที่พัฒนาในระบบการต่อเชื่อมคอมพิวเตอร์เป็นเน็ตเวิร์กแล้ว ยังรวมถึงเทคโนโลยีการเข้าถึงที่ใช้ในระบบการควบคุมอาคารต่างๆ ด้วย เช่น ระบบใน Intelligent Building เมื่อนำ IC Card หรือ Finger Print ในการอนุญาตให้ access ไปในชั้นหรือห้องต่าง ๆ

…………………………………………………………..

ที่มา:   http://www.bloggang.com/viewdiary.php?id=siang&month=10-2008&date=10&group=3&gblog=2

กระดานส่งงานนของ ดร.ภาสกร  เรืองรอง  21 ก.พ. 2552

http://student.nu.ac.th/comed/webboard/

 วันที่ 7 มีนาคม 2552 ห้อง ed2216 เวลา 09.00น.M-learning

1. ความหมาย  2. ความสำคัญ   3.ประโยชน์   4.ข้อดีข้อเสีย...5. กรณีศึกษาการใช้จริง ณ..........

1. ความหมาย
 m-Learning (mobile learning)  คือ

หมายเลขบันทึก: 243630เขียนเมื่อ 21 กุมภาพันธ์ 2009 09:58 น. ()แก้ไขเมื่อ 20 มิถุนายน 2012 13:14 น. ()สัญญาอนุญาต: สงวนสิทธิ์ทุกประการจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

อนุญาตให้แสดงความเห็นได้เฉพาะสมาชิก
พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท