กระบวนการ วิธีการเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรคไข้หวัดนกในหมู่บ้าน


กระบวนการ วิธีการเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรคไข้หวัดนกในหมู่บ้าน : กรณีศึกษา บ้านสมสะอาด หมู่ 2 ตำบลแร่ อำเภอพังโคน จังหวัดสกลนคร ปี 2551

กระบวนการ วิธีการเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรคไข้หวัดนกในหมู่บ้าน

บ้านสมสะอาด หมู่ 2  ตำบลแร่ อำเภอพังโคน จังหวัดสกลนคร

 

บทบาทของ อสม.
               
- ติดตามสำรวจสัตว์ปีกป่วยตายในหมู่บ้าน
                - ส่งข้อมูลรายงานสัตว์ปีกป่วย-ตายสัปดาห์ละ 1 ครั้ง
               - รายงานทันทีเมื่อมีสัตว์ปีกป่วย-ตายผิดปกติในหมู่บ้าน

ส่งเสริมสนับสนุนให้ประชาชนในชุมชน มีพฤติกรรมที่เหมาะสมในการป้องกันและควบคุมโรคไข้หวัดนก

- การล้างมือด้วยสบู่หรือผงซักฟอกทุกครั้งก่อนรับประทานอาหาร

- การพูดคุยและสร้างความเข้าใจของคนในชุมชนเกี่ยวกับโรคไข้หวัดนก


ปัญหา/อุปสรรค และแนวทางแก้ไข

ในระยะเริ่มต้น มีปัญหาในเรื่องการมีส่วนร่วมของชุมชน และประชาชนไม่ตื่นตัวต่อสถานการณ์ หรือความรุนแรงของโรคไข้หวัดนก (ส่วนใหญ่คิดว่าเป็นเรื่องไกลตัว จึงไม่ให้ความสำคัญ)  ต่อมาได้มีการประชุมแกนนำชุมชน รวมทั้งการให้ความรู้แก่ประชาชน จึงทำให้ชุมชนมีส่วนร่วมมากขึ้น ประชาชนตื่นตัวและร่วมมือในการดำเนินกิจกรรม     เช่น  มีการแจ้ง  อสม.  หรือผู้ใหญ่บ้าน เมื่อมีสัตว์ปีกป่วยตาย เป็นต้น

 

หมายเลขบันทึก: 231862เขียนเมื่อ 25 ธันวาคม 2008 15:04 น. ()แก้ไขเมื่อ 11 มิถุนายน 2012 13:25 น. ()สัญญาอนุญาต: จำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท