มาตรฐานที่ 4


มาตรฐานที่ 4

มาตรฐานที่ 4 มาตรฐานด้านการทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม

ตัวบ่งชี้ที่ 4.1

ร้อยละของโครงการ/กิจกรรมในการอนุรักษ์ พัฒนาและเสริมสร้างเอกลักษณ์  ศิลปะและวัฒนธรรมต่อจำนวนนักศึกษา  

           ค่าน้ำหนักตัวบ่งชี้ของกลุ่มสาขา: 5

             ค่าเป้าหมายของสถาบัน:  ร้อยละ 1.4

           ผลการดำเนินงาน ในปีการศึกษา 2550: ร้อยละ 3.29              

 

จำนวนกิจกรรมกิจกรรมในการอนุรักษ์ พัฒนาและเสริมสร้างเอกลักษณ์

        35

กิจกรรม/โครงการ

จำนวนนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเท่าระดับปริญญาตรีภาคปกติ

   1,063.44

คน

คิดเป็นร้อยละ

       3.29

 

 

                           จำนวนกิจกรรม                ×  100 =  3.29

              จำนวนนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเท่า

 

 

             

         ผลการดำเนินงานในปีการศึกษา 2550:

                ในปีการศึกษา 2550 กลุ่มสาขาวิชาศิลปกรรมฯ ได้ดำเนินกิจกรรมต่างๆด้านการทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม รวมทั้งสนับสนุนและส่งเสริมให้คณะวิชาดำเนินกิจกรรมเพื่อการอนุรักษ์พัฒนาและสร้างเสริมเอกลักษณ์ศิลปะและวัฒนธรรม ได้แก่ กิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับศาสนา กิจกรรมเทิดพระเกียรติพระราชวงศ์ กิจกรรมการอนุรักษ์ดนตรีและนาฏศิลป์ กิจกรรมการอนุรักษ์ทางด้านเกษตร เป็นต้น เพื่อให้นักศึกษาและบุคลากรเข้าร่วมได้อย่างทั่วถึงโดยมีกิจกรรมในการอนุรักษ์พัฒนาและสร้างเสริมเอกลักษณ์ศิลปะและวัฒนธรรมต่อจำนวนนักศึกษา ดังนี้

                1. กิจกรรมในการอนุรักษ์พัฒนาและสร้างเสริมเอกลักษณ์ศิลปะและวัฒนธรรมในปีการศึกษา2550 เท่ากับ........35.........กิจกรรม

                2. จำนวนนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเท่าเฉพาะภาคปกติ ในปีการศึกษา 2550 เท่ากับ  1,063.44  คน(4.1-1.1)

 

 

 

 

 

         เกณฑ์การให้คะแนนอิงเกณฑ์มาตรฐานขั้นต่ำของตัวบ่งชี้ (ร้อยละ)

 

1 คะแนน

2 คะแนน

3 คะแนน

1 – 1.4

1.5  - 1.9

³ 2.0

       

                ผลการประเมินเทียบเกณฑ์มาตรฐานตัวบ่งชี้                                                        3           คะแนน

             ผลการประเมินการบรรลุผลตามเป้าหมายของแผนสถาบัน                    1            คะแนน

              รวมระดับคะแนนผลการประเมินตัวบ่งชี้                                         4            คะแนน

          

ข้อมูลประกอบการรายงาน:

            1.   จำนวนกิจกรรมในการอนุรักษ์ พัฒนาและเสริมสร้างเอกลักษณ์  ศิลปะและวัฒนธรรม ในปีการศึกษานั้น

            2.   จำนวนนักศึกษาปริญญาตรีภาคปกติเต็มเวลาเทียบเท่า

 

ผลการประเมินตนเอง

                - จากผลการดำเนินงานตามตัวบ่งชี้ที่ 4.1 กลุ่มสาขาวิชาศิลปกรรมฯ มีกิจกรรมในการอนุรักษ์พัฒนาและสร้างเสริมเอกลักษณ์ศิลปะและวัฒนธรรมต่อจำนวนนักศึกษา คิดเป็นร้อยละ......3.29.....ซึ่งเป็นไปตามเกณฑ์ประเมินที่ระดับ.........3............คะแนน

                - ผลการดำเนินงานสามารถบรรลุเป้าหมายตามที่กำหนดไว้ที่ ร้อยละ………1.4……. ทำให้ได้คะแนนเท่ากับ………1……….คะแนน

                สรุป ผลการประเมินตัวบ่งชี้ที่ 4.1 ในปีการศึกษา 2550 กลุ่มสาขาวิชาศิลปกรรมฯ มีผลการประเมินระดับคะแนน……4…….. คะแนน

 

จุดแข็ง/แนวทางเสริม :

ศาสตร์วิชาทางศิลปกรรมจะใกล้ชิดกับศิลปวัฒนธรรม  จึงสามารถสนับสนุนงานได้อย่างกลมกลืนแต่ กิจกรรมในการอนุรักษ์ พัฒนา ยังขาดความชัดเจนในรูปธรรม ต้องเสริมจุดนี้

 

จุดที่ควรพัฒนา :

พัฒนาด้านการประสานงานด้านการอนุรักษ์ พัฒนา ระดับพื้นที่  ให้มีประสิทธิภาพ

 

รายการเอกสาร :

หมายเลขเอกสาร

รายละเอียด

4.1-1.1

ตารางสรุปกิจกรรมในการอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรม

 

 

ตัวบ่งชี้ที่ 4.2

ร้อยละของค่าใช้จ่ายและมูลค่าที่ใช้ในการอนุรักษ์ พัฒนาและสร้างเสริมเอกลักษณ์ศิลปะและ วัฒนธรรมต่องบดำเนินการ

             ค่าน้ำหนักตัวบ่งชี้ของกลุ่มสาขา: 5

             ค่าเป้าหมายของสถาบัน:  ร้อยละ 0.50

           ผลการดำเนินงาน ในปีการศึกษา 2550: ร้อยละ 3.42

 

ค่าใช้จ่ายและมูลค่าในกิจกรรมในการอนุรักษ์ พัฒนาและเสริมสร้าง   เอกลักษณ์ 

2,790,200.81

บาท

งบดำเนินการ

81,597,955.31

บาท

คิดเป็นร้อยละ

3.42

 

     

ผลการดำเนินงานในปีการศึกษา 2550:

                ในปีการศึกษา 2550 กลุ่มสาขาวิชาศิลปกรรมฯ  มีค่าใช้จ่ายและมูลค่าที่ใช้ในการอนุรักษ์พัฒนาและสร้างเสริมเอกลักษณ์ศิลปะและวัฒนธรรมต่องบดำเนินการ ดังนี้

                1. ค่าใช้จ่ายและมูลค่าที่ใช้ในการอนุรักษ์พัฒนาและสร้างเสริมเอกลักษณ์ศิลปะและวัฒนธรรมในปีการศึกษา 2550 เท่ากับ ..... 2,790,200.81......บาท

        2. งบดำเนินการ ในปีงบประมาณ 2549 เท่ากับ........ 81,597,955.31.......บาท

(4.2-1.1)

        ค่าใช้จ่ายถูกบริหารจัดการมาจากหน่วยงานกลางของมหาวิทยาลัย กลุ่มสาขาวิชาศิลปกรรมฯ ไม่ได้มีส่วนในการบริหารจัดการค่าใช้จ่าย แต่หลักฐานที่มีอยู่ในกลุ่มสาขาวิชาฯ ใช้งบประมาณทั้งสิ้น 267,200 บาท

 

เกณฑ์การให้คะแนนอิงเกณฑ์มาตรฐานขั้นต่ำของตัวบ่งชี้ (ร้อยละ) 

 

1 คะแนน

2 คะแนน

3 คะแนน

0.01 - 0.49% ของงบดำเนินการ

0.5 - 0.99% ของงบดำเนินการ

³  1% ของงบดำเนินการ

 

         ผลการประเมินเทียบเกณฑ์มาตรฐานตัวบ่งชี้                                                          3        คะแนน

         ผลการประเมินการบรรลุผลตามเป้าหมายของแผนสถาบัน                        1        คะแนน

         รวมระดับคะแนนผลการประเมินตัวบ่งชี้                                             4         คะแนน

 

 

ข้อมูลประกอบการรายงาน:

1.    จำนวนค่าใช้จ่ายที่สถาบันใช้ไปในการอนุรักษ์ พัฒนา และเสริมสร้างเอกลักษณ์ ศิลปะและวัฒนธรรม ให้บริการทางวิชาการแก่ชุมชน หรือสังคม ในแต่ละปีการศึกษา

2.    ค่าใช้จ่ายที่ได้จากการคำนวณเป็นจำนวนเงินเทียบเคียงจากการที่อาจารย์ประจำของสถาบันได้ใช้เพื่ออนุรักษ์ พัฒนา และสร้างเสริมเอกลักษณ์ ศิลปะและวัฒนธรรม ในแต่ละปีการศึกษา

3.       งบดำเนินการ ในปีการศึกษานั้น

 

ผลการประเมินตนเอง

                - จากผลการดำเนินงานตามตัวบ่งชี้ที่ 4.2 กลุ่มสาขาวิชาศิลปกรรมฯ มีค่าใช้จ่ายและมูลค่าที่ใช้ในการอนุรักษ์พัฒนาและสร้างเสริมเอกลักษณ์ศิลปะและวัฒนธรรมต้องบดำเนินการ คิดเป็นร้อยละ ………3.42…… ซึ่งเป็นไปตามเกณฑ์ประเมินที่ระดับ……3….. คะแนน

                - ผลการดำเนินงานไม่สามารถบรรลุเป้าหมายตามที่กำหนดไว้ที่ ร้อยละ ……50……ทำให้ได้คะแนน เท่ากับ……1…....คะแนน

หมายเลขบันทึก: 227303เขียนเมื่อ 4 ธันวาคม 2008 14:07 น. ()แก้ไขเมื่อ 16 พฤษภาคม 2012 22:09 น. ()สัญญาอนุญาต: จำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท