มาตรฐานที่ 3


มาตรฐานที่ 3

มาตรฐานที่ 3 มาตรฐานด้านการบริการวิชาการ

ตัวบ่งชี้ที่ 3.1

ร้อยละของกิจกรรม/โครงการบริการวิชาการและวิชาชีพที่ตอบสนองความต้องการ และพัฒนา/และเสริมสร้างความเข้มแข็งของสังคม ชุมชน ประเทศชาติ และนานาชาติต่อจำนวนอาจารย์ประจำ

           ค่าน้ำหนักตัวบ่งชี้ของกลุ่มสาขา: 3.75

          ค่าเป้าหมายของสถาบัน: ร้อยละ 30 

           ผลการดำเนินงาน ในปีการศึกษา 2550: ร้อยละ 47.06          

      

จำนวนกิจกรรม/โครงการบริการวิชาการและวิชาชีพฯ

40

กิจกรรม/โครงการ

จำนวนอาจารย์ประจำที่ปฏิบัติงานจริง ในปีการศึกษา 2550

85

คน

คิดเป็นร้อยละ

47.06

 

       

ผลการดำเนินงานในปีการศึกษา 2550:

                ในปีการศึกษา 2550 กลุ่มสาขาวิชาศิลปกรรมฯ มีกิจกรรม/โครงการบริการวิชาการและวิชาชีพที่ตอบสนองความต้องการพัฒนาและเสริมสร้างความเข้มแข็งของสังคม ชุมชน ประเทศชาติและนานาชาติต่ออาจารย์ประจำดังนี้

1.    จำนวนกิจกรรม/โครงการบริการวิชาการและวิชาชีพที่ตอบสนองความต้องการพัฒนาและเสริมสร้างความเข้มแข็งของสังคม ชุมชน ประเทศชาติและนานาชาติจำนวน ……40…..โครงการ

2.    จำนวนอาจารย์ประจำทั้งหมด……89………คน จำนวนอาจารย์ที่ลาศึกษาต่อ……4…… คน

    (40 / 85 * 100 = 47.06)      (3.1-1.1)

 

         เกณฑ์การให้คะแนนเทียบกับเป้าหมาย(ร้อยละ)

 

1 คะแนน

2 คะแนน

3 คะแนน

1 – 24

25 39

³ 40

     

         ผลการประเมินเทียบเกณฑ์มาตรฐานตัวบ่งชี้                        3                                 คะแนน

         ผลการประเมินการบรรลุผลตามเป้าหมายของสถาบัน         1                  คะแนน

         รวมระดับคะแนนผลการประเมินตัวบ่งชี้                             4                            คะแนน

 

       

ข้อมูลประกอบการรายงาน:

1.    จำนวนกิจกรรม หรือ โครงการที่สถาบัน ได้จัดทำขึ้นเพื่อให้บริการทางวิชาการแก่สังคมและชุมชน หรือ เพื่อตอบสนองความต้องการของสังคม ชุมชน ประเทศชาติ หรือ นานาชาติ ในปีการศึกษานั้น

2.    จำนวนอาจารย์ประจำในปีการศึกษานั้น ทั้งนี้การนับอาจารย์ประจำ ให้นับรวมอาจารย์ประจำเฉพาะที่ปฏิบัติงานจริง ไม่นับรวมอาจารย์ที่ลาศึกษาต่อ

 

ผลการประเมินตนเอง

-      จากผลการดำเนินงานตามตัวบ่งชี้ที่ 3.1 กลุ่มสาขาวิชาศิลปกรรมฯ มีกิจกรรม/โครงการบริการวิชาการและวิชาชีพที่ตอบสนองความต้องการพัฒนาและเสริมสร้างความเข้มแข็งของสังคม ชุมชนประเทศชาติและนานาชาติต่ออาจารย์ประจำ คิดเป็นร้อยละ…47.06….ซึ่งเป็นไปตามเกณฑ์ประเมินที่ระดับ 3 คะแนน

-      ผลการดำเนินงานสามารถบรรลุเป้าหมายตามที่กำหนดไว้ที่ร้อยละ .....30.......ทำให้ได้คะแนนเท่ากับ ....1.......คะแนน

                สรุป ผลการประเมินตัวบ่งชี้ที่ 3.1 ในปีการศึกษา 2550 กลุ่มสาขาวิชาศิลปกรรมฯ มีผลการประเมินระดับคะแนน.......4....... คะแนน

 

รายการหลักฐาน

หมายเลขเอกสาร

รายละเอียด

3.1-1.1

จำนวนกิจกรรมในการบริการวิชาการและวิชาชีพฯ

  

ตัวบ่งชี้ที่ 3.2

ร้อยละของอาจารย์ที่เป็นที่ปรึกษา เป็นกรรมการวิทยานิพนธ์ภายนอกสถาบัน เป็น กรรมการ วิชาการและกรรมการวิชาชีพ ในระดับชาติหรือระดับนานาชาติต่ออาจารย์ประจำ

          ค่าน้ำหนักตัวบ่งชี้ของกลุ่มสาขา: 3.75

          ค่าเป้าหมายของสถาบัน:  ร้อยละ 10

           ผลการดำเนินงาน ในปีการศึกษา 2550: ร้อยละ 45.88          

                        

ลำดับ

ชื่ออาจารย์

ชื่อ/รายละเอียดการเป็นกรรมการฯ

1

 

2

 

 

3

4

5

6

7

8

9

10

11

 

12

 

13

14

15

 

16

 

 

17

 

18

19

20

 

21

 

22

 

23

24

25

26

27

 

28

 

29

 

30

 

31

 

32

 

 

33

 

 

34

 

 

 

 

35

 

36

 

37

 

38

 

39

40

41

 

42

 

43

44

45

46

 

47

 

48

50

 

51

 

52

53

54

 

55

 

ผศ.สุรพล  มโนวงศ์

ผศ.สุรพล  มโนวงศ์

ผศ.สิตางศุ์  เจนวินิจฉัย

ผศ.ธีระชัย  สุขสด

นายธรรมนูญ  นิลวรรณ

นายอนุชา  แก้วหลวง

นายสืบสกุล  ชื่นชม                   ผศ.รจนา  ชื่นศิริกุลชัย              นางสาวรติรส  บุญญะฤทธิ์         นายเผ่าภิญโญ  ฉิมพะเนาว์

ผศ.รจนา  ชื่นศิริกุลชัย

ผศ.รจนา  ชื่นศิริกุลชัย

นายไพโรจน์  วรพจน์พรชัย

นายสืบสกุล  ชื่นชม                  นางสาวรติรส  บุญญะฤทธิ์

นายสืบสกุล  ชื่นชม                  นางสาวรติรส  บุญญะฤทธิ์

นายบุญรัตน์  ณ วิชัย

หมายเลขบันทึก: 227302เขียนเมื่อ 4 ธันวาคม 2008 14:04 น. ()แก้ไขเมื่อ 15 มิถุนายน 2012 14:59 น. ()สัญญาอนุญาต: จำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท