งานที่ประสบความสำเร็จ


งานที่ประสบความสำเร็จ

งานที่ประสบความสำเร็จ

    1.การตรวจบทความ และ การส่งบทความเผยแพร่

     วิธีดำเดินงาน

         - ตรวจสอบบทความเบื่องต้นเพื่อดูความครบถ้วนขององค์ประกอบ ความสอดคร้องของแต่ละส่วน และความถูกต้องของรูปแบบ

         - เมื่อมีหน่วยงานแบบประชาสัมพันธ์ให้ส่งบทความ ดำเนินการคัดเลือกบทความ ตรวจสอบเงื่อนไขของหน่วยงานที่เผยแพร่บทความ และปรับบทความให้เข้าตามเงื่อนไข และนำส่งเพื่อเผยแพร่

         - หน่วยงานที่เผยแพร่ส่งบทความให้ผู้ทรงคุณวุติตรวจ และส่งกลับมาแก้ไขปรับปรุงตามคำแนะนำของผู้ทรงคุณวุติ บัณฑิตวิทยาลัย ดำเนินการแก้ไข และส่งกลับไป เท่าที่ผ่านมาได้รับการเผยแพร่ทุกรายการ

 ปัญหา

การปรับปรุงแก้ไขตามบทความตามคำแนะนำของผู้ทรงคุณวุฒิในบางกรณีไม่สามารถทำได้สมบูรณ์ เพราะผู้แก้ไขไม่ใช้ผู้ทำวิจัยเองและไม่มีสือเกียวข้องในงานวิจัย แม้ตรวจสอบจากเล่มรายงานการวิจัยแล้ว ก็ไม่สามารถตอคำถามส่วนนั้นได้

2. การตรวจรูปแบบรายงานการวิจัย

    วิธีดำเนินงาน

- ตรวจรูปแบบและวิเคราะห์ข้อบกพ่อง ข้อผิดพลาดที่พบบ่อย และตรวจสอลชี้แจง ด้วยคำอธิบายให้นักศึกษาเข้าใจ

- ถ้าเป็นไปได้ จะตรวจและอธิบายกับนักศึกษาโดยตรง ซึ่งจะมีการขยายผลโดยตัวนึกศึกษาเองไปสู่กลุ่มเพื่อน

หมายเลขบันทึก: 223589เขียนเมื่อ 17 พฤศจิกายน 2008 17:04 น. ()แก้ไขเมื่อ 9 มิถุนายน 2012 10:02 น. ()สัญญาอนุญาต: จำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (9)

กราบเรียนท่านอาจารย์ ปิยนุช ..อยากให้ท่านได้นำเสนอเทคนิคการเขียนบทความวิทยานิพนธ์ด้วยครับ...

สวัสดีครับแม่..................

ไม่รู้ว่ามี Blog กับเข้าเหมือนกัน

intrend น่าดู....อิ ....อิ

สวัสดีแม่

เห็นพี่เค้าเขียน ไม่บอกพิณเลย

มี Blog กับเค้าไม่รู้เลยเหมือนกันนะ

คิดถึงแม่เสมอ อย่าลืมโทรหาหนูน่า อิๆ

สวัสดีครับอาจารย์

สำบายดีบ่ครับ....คิดฮอดอยู่เด้อครับ

ไหน ๆ ก็ตั้งใจหาแล้ว...ขอฝากความคิดถึง...ซะเลยนะคร๊า..บ

อาจาร์ค่ะ

ประวัติอาจาร์มีน้อยจริง ๆ

มีแต่ประวัติส่วนตั๊วส่วนตัว

อยากรู้ประวัติส่วนอื่นๆ หรือด้านอื่นๆ บ้าง

เวลาทำงานสัมมนา จะได้ทราบ

เฮ่ สวัสดีค่ะ

อิอิ

สวัสดีค่ะอาจารย์

หนูมีเรื่องเรียนถาม เรื่องเกี่ยวกับหนูพุก ถามว่า....

หนูพุกควรจะดีใจ หรือเสียใจดี กับเรื่องๆ นี้

มีอาจารย์ท่านหนึ่ง

ให้เขียนเรียงความ อาจเป็นการเขียนอธิบาย ให้ความหมาย ความสำคัญ ฯลฯ โดยให้หัวข้อมาหนึ่งหัวข้อ

ซึ่งหัวข้อดังกล่าวบังเอิญเป็นหัวข้อที่เกี่ยวกับพระพุทธศาสนา

ไม่ขอบอกหัวข้อจริง ๆนะค่ะ ขอบอกแต่แนวแล้วกัน

หนูพุกไม่รู้ว่าจะเขียนอย่างไร

หนูพุกจึงใช้วิธีการเขียนแบบการเขียนสอบนักธรรม

ซึ่งหฯพุกคิดว่า

น่าจะทำให้หนูพุกได้คะแนนพอสมควร และคงไม่มีใครเขียนในลักษณะนี้

หนูพุกจึงเริ่มเขียนเรียงความ จากหัวข้อที่กำหนดให้

หนูพุกใช้ความรู้ที่เรียนมา ( ลืมบอกไปว่าหนูพุกเคนสอบนักธรรม จึงเป็นเรื่องธรรมดาที่จะเขียนได้)

เขียนเรียงความจนจบ และส่งงานชิ้นนั้นไปพร้อมกับเพื่อนคนอื่นๆ

เมื่ออาจารย์ที่สั่งงานได้นำไปอ่านแล้ว หนึ่งอาทิตย์ต่อมาในเวลาเรียน

ท่านก็ได้กล่าวถึงงานที่นักศึกษาส่งไป

จากนั้นท่านก็กล่าวว่า มีงานชิ้นหนึ่ง

" ลักษณะการเขียนเหมือนกับไปให้หลวงพี่ที่วัดเขียนให้ "

หนูพุกได้ยินและคิดในใจว่า " หนูพุกเขียนเอง คิดเอง ทำไมอาจารย์ท่านถึงกล่าวเช่นนั้น หนูพุกสงสัย

หนูพุกอยากถามว่า งานของหนูพุกที่ส่งไปมันไม่ได้เรื่อง หรือสำนวนมันดีเกินกว่าที่หนูพุกจะเขียนได้ หรืออเป็นย่างไรกันแน่ แต่สุดท้ายหนูพุกก็ไม่กล้าถาม"

ในฐานะที่อาจารย์เป็นอาจารย์

อาจารย์ช่วยให้คำแนะนำ ตามความเป็นจริงโดยไม่มีเหตุผลอื่นใด นอกจากความเป็นกลางเท่านั้น

ว่าหนูพุกควรดีใจ หรือเสียใจค่ะ

ถึงแม้เรื่องมันจะเล็ก แต่มันก็ติดอยู่ในใจหนูพุกมาตลอดสามปีแล้ว

ไม่รู้ว่าทำไมไม่ลืมสักที ภาพเหตุการณ์ในวันนั้นมันแว๊บเข้ามาเป็นบางครั้ง

ทำให้หนูพุกรู้สึกหดหู่ใจนัก

ขอบล่วงหน้าคุณค่ะ สำหรับคำแนะนำที่จะตอบกลับให้หนูพุก

สวัสดีค่ะคุณป้า

อินเทรนสุดๆค่ะ ปอทำblogไม่เป็นเลย ดีจริงๆค่ะ^^

คิดถึงป้าเหรียญ และกับข้าวอร่อยๆที่อุตดิดนะคะ *-*

สวัสดีค่ะคุณป้าที่รัก

เพิ่งรู้ว่าป้าเหรียญมี Blog ด้วย(รู้ทีหลังชาวบ้านเลย)

คิดถึงป้าเหรียญที่สุดเลย

พักนี้ฝันถึงป้าเหรียญ ลุงเทิง พี่โทนแล้วก็พี่พิณสองวันติดเลย สงสัยจะคิดถึงมาก

รักษาสุขภาพด้วยนะคะ

คำว่า "ความสำเร็จ" ชังเข้าใจยากเสีย้เหลือเกิน..

ถ้าคนนั้นไม่รู้จักคำว่า "พอ"

ขอบคุณนะครับ

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท