หลักการนิเทศการศึกษายุคใหม่


การศึกษานิเทศยุคใหม่

หลักการแนวคิดในการนิเทศการศึกษายุคใหม่  

                                                              ชัด  บุญญา *

 

ความหมาย

ในอดีตที่ผ่านมามีผู้ให้ความหมายของการนิเทศ

4

 
สี่เหลี่ยมมุมมน: การนิเทศการศึกษาคือความพยายามอย่างหนึ่ง  หรือ หลาย ๆ อย่าง  ที่จะช่วยส่งเสริมให้การศึกษา มีคุณภาพทั้งด้านการเรียนการสอน (สายภาณุรัตน์, 2511)

1

 
     ไว้มากมาย  เช่น

สี่เหลี่ยมมุมมน:   การนิเทศการศึกษา เป็นส่วนหนึ่งของการบริหารโรงเรียน  ซึ่งผู้บริหารจะต้องมีส่วนเกี่ยวข้องในการให้บริการทางการศึกษา เพื่อให้กระบวนการเรียนการสอนเกิดผลสัมฤทธิ์ตามความคาดหมาย (Eye and Netzer; 1965)

หลังจากประกาศใช้พระราชบัญญัติการศึกษาในปี 2542 ที่กำหนดให้มีระบบการประกันคุณภาพการศึกษาโดยการกำหนดให้โรงเรียนมีมาตรฐานการศึกษาและพัฒนาโรงเรียนเข้าสู่  มาตรฐานการศึกษาแล้วมีการประเมินและปรับปรุงคุณภาพการศึกษาให้เป็นไปตามมาตรฐานที่กำหนดหรือปรับปรุงมาตรฐานให้สูงขึ้น  พร้อมที่จะรับการประเมินภายใน และภายนอก ความหมายของการนิเทศการศึกษาจึงควรปรับเปลี่ยนให้เหมาะสมยิ่งขึ้น

 

 

 
 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 


นี่คือความหมายของการนิเทศการศึกษาที่ควรจะเป็น  ในยุคใหม่หลัง

ประกาศใช้พระราชบัญญัติการศึกษา

 
 

    การนิเทศการศึกษา ที่รวมถึงการนิเทศภายในโรงเรียน หมายถึง  การดำเนินการใดๆ ที่ทำให้ครูมีความพึงพอใจ และมีกำลังใจ ที่จะพัฒนาการจัดการเรียนการสอน และพัฒนาการดำเนินงานใดๆ ของโรงเรียน ให้เป็นไปตามมาตรฐานใดๆ ของโรงเรียนและของบุคลากรให้สูงขึ้นและรักษาไว้ จนส่งผลให้โรงเรียนเป็นที่ยอมรับของผู้รับประโยชน์จากโรงเรียนทุกฝ่าย อีกทั้งผ่านการประเมินทั้งภายในและภายนอก 

                                                    

 

 
 

 

 

 

 

 

 

 


หลักการนิเทศ

 

            หากนำความหมายของการนิเทศ หลักการนิเทศดั้งเดิมมาผสมผสานกับแนวคิดการประกันคุณภาพการศึกษา,แนวคิดที่เกี่ยวกับหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน,แนวคิดว่าด้วยมาตรฐานวิชาชีพครู และระดับคุณภาพครู/ผู้บริหาร (NTQ/EMQ) หลักการนิเทศใน ยุคใหม่ที่ควรจะเป็นก็คือ

 
 
 


 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 


จุดมุ่งหมาย

 

ดร. สาย ภาณุรัตน์  (สาย ภาณุรัตน์, 2521) หัวหน้าหน่วยศึกษานิเทศก์คนแรกของประเทศไทย ได้เสนอจุดมุ่งหมายของการนิเทศการศึกษาไว้หลายข้อดังนี้

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 


            จากความหมาย หลักการนิเทศการศึกษาที่กล่าวไว้ข้างต้น  ความมุ่งหมายของการนิเทศการศึกษาดั้งเดิม และการจัดการศึกษาตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติในปัจจุบัน  ความมุ่งหมายของการนิเทศการศึกษา  รวมทั้งการนิเทศภายในโรงเรียน จึงควรจะได้แก่

       
 

      เพื่อสนับสนุนส่งเสริม กระตุ้นให้ครู และผู้มีส่วนได้ส่วนเสียจากการจัดการศึกษาทุกฝ่ายเป็นรายบุคคล หรือหลายคน ร่วมมือ ร่วมใจกันปฏิรูปวิธีการจัดการเรียน       การสอน วิธีการบริหารจัดการศึกษาที่มุ่งสู่ความสำเร็จตามมาตรฐานใดๆ ของโรงเรียน และของบุคลากรของโรงเรียน ให้สูงขึ้น และรักษาไว้ได้ อย่างต่อเนื่องด้วยความเต็มใจ

 
คำบรรยายภาพแบบสี่เหลี่ยมมุมมน: กระบวนการของเลฮ์แมน
ขั้นที่ 1 
การกำหนดปัญหาและความต้องการจำเป็น (Need)
ขั้นที่ 2  
การกำหนดจุดประสงค์ที่วัดได้  (Measurable Goals)     
ขั้นที่ 3  
การกำหนดอุปสรรคและข้อจำกัดต่าง ๆ (Constraints)
ขั้นที่ 4  
การกำหนดวิธีการที่เป็นทางเลือกใน การแก้ปัญหา (Alternatives)
ขั้นที่ 5  
การเลือกทางเลือกในขั้นที่ 4 มาปฏิบัติเพื่อแก้ปัญหา (Selection)
 

 

 

 

 


 กระบวนการในการนิเทศ

กระบวนการนิเทศเป็นกระบวนการ

โดยทั่วไปที่นำมาปรับใช้ให้เหมาะสมกับ

 วัตถุประสงค์และกิจกรรมการนิเทศ  

        ดังแนวทางข้างล่างนี้

คำบรรยายภาพแบบสี่เหลี่ยมมุมมน: ขั้นที่ 8  
การปรับปรุงแก้ไข
ส่วนที่บกพร่องหลังจากทดลองดูแล้ว(Modification)
กระบวนการของเดมมิ่ง

 

 


หมายเลขบันทึก: 196596เขียนเมื่อ 26 กรกฎาคม 2008 07:03 น. ()แก้ไขเมื่อ 12 กุมภาพันธ์ 2012 01:14 น. ()สัญญาอนุญาต: จำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท