ความประทับใจในการไปดูงานที่ รพ.นพรัตน์


การมาดูงานครั้งนี้ถือว่าเป็นการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ,การรักษาคนไข้เบาหวานควรเป็นแบบpatient center และดูแลแบบองค์รวมจากสหสาขาวิชาชีพ

ความประทับใจในการไปดูงานที่ รพ.นพรัตน์

8 กค.51

รายชื่อผู้เข้าร่วมดูงาน

  1. นส. ปริญาภรณ์  พุ่มเจริญ     พยาบาลวิชาชีพ 7วช.          กรรมการ
  2. นส.ณัฐสิริ กิตติถิระพงษ์         นายแพทย์                     กรรมการ
  3. นาง อารมณ์ ศิริมังคละ           พยาบาลวิชาชีพ 7วช.         กรรมการ
  4. มล.วัชราภรณ์ วรวรรณ          พยาบาลวิชาชีพ 7วช.         กรรมการ
  5. นางศิราวรรณ สุดหนองบัว     พยาบาลวิชาชีพ 6วช.          กรรมการ
  6. นางศิริลักษณ์ รัตนวิจิตร       โภชนาการ6                   กรรมการ
  7. นส.กมลวรรณ อนันต์วัฒนกิจ นักกายภาพบำบัด5          กรรมการ
  8. นส.วิจิตรา ครุฑแก้ว              เภสัชกร 4                      กรรมการ
  9. นส. วันดี   กีรติวศิน        เจ้าพนักงานวิทยาศาสตร์การแพทย์ 6 กรรมการ
  10. นาง นวลจันทร์ แจ่มดวง       พยาบาลวิชาชีพ 7วช.                กรรมการ

 

พวกเราออกจากรพ.สิรินธรประมาณ 8.00น. ถึงที่รพ.นพรัตน์ประมาณ8.20น. พวกเราได้รับการต้อนรับอย่างดีมากจากทีม QIT DMของรพ.นพรัตน์ 

ได้รับการกล่าวต้อนรับจาก นพ. สวัสดิ์ เถกิงเดช ผอ.รพ.นพรัตน์ สรุปใจความได้ว่า รพ.นพรัตน์ยินดีเป็นอย่างยิ่งที่รพ.สิรินธรมาดูงาน และควรเลือกเอาสิ่งที่ดีไปปรับปรุงและแก้ไขให้เหมาะสมโดยสิ่งที่เหมือนกันระหว่างรพ.นพรัตน์และรพ.สิริธรคืออยู่ในเขตเดียวกัน ข้อมูลเดียวกัน

อ.วัลลภ พัฒนาโสภณ ประธาน QIT DM กล่าวว่า

การมาดูงานครั้งนี้ถือว่าเป็นการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ,การรักษาคนไข้เบาหวานควรเป็นแบบpatient center และดูแลแบบองค์รวมจากสหสาขาวิชาชีพ

จากการทบทวนและทำวิจัยพบว่าการที่รักษาคนไข้เบาหวานแบบเก่า คือการให้ยาแล้วกลับบ้าน สามารถควบคุมน้ำตาลFBS<10% แต่การดูแลรักษาคนไข้เบาหวานแบบใหม่คือการจัดกลุ่มให้ความรู้โดยทางนพรัตน์เลือกใช้VCDเป็นสื่อเนื่องจากบุคคลากรไม่พอเพียง ประเมินผลในแง่งานวิจัย 3ด้านได้แก่ FBS, HbA1C,metalobis syndrome(BMI,lipid),แบบformการประเมินสุขภาพจิต พบว่าเมื่อติดตามผู้ป่วยไป 3เดือนพบว่ามีการลดลงอย่างนัยสำคัญยกเว้นเรื่องของmetabolic(อาจเกิดจากระยะเวลา3เดือนอาจทำให้metabolic ยังไปเปลื่ยนแปลง)  โดยก่อนการให้ความรู้แบกลุ่มจะมีนักจิตวิทยามาโน้มน้าวให้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม

หลังจากที่มีการจัดกลุ่มจะส่งผู้ป่วยพบแพทย์ต่อไป ถ้ามีการscreeningพบว่าผู้ป่วยควรมีความรู้ด้านใดเพิ่มเติมจะมีการส่งไปพบกับทีมสหสาขาวิชาชีพแบบรายบุคคล

นอกจากนี้ยังมีรูปแบบการให้บริการที่ชัดเจน เช่น มีflow chart  การscreenเบาหวาน และcomplication,มีdischarge planว่าจะต้องให้ความรู้อะไรแก่ผู้ป่วยบ้างที่จะลดการเกิดreadmission,ในอนาคตรพ.นพรัตน์จะมีการจัดgrand round

กิจกรรมต่างๆ:World Diabetic Day, DM clamp, DM club,เป็นสมาชิกในTCEN,จัดกิจกรรมการให้ความรู้แก่บุคคลากร14-15สค51,และจากการทำclinical auditจึงทำให้มีการปรับปรุงเวชระเบียนในระบบcomputer โดยจะมีการสอนแก่บุคคลากร 21-22สค 51

 

ต่อมาพวกเราได้ไปดูงานที่OPD อายุรกรรม มีห้องให้คำปรึกษา,ห้องให้ความรู้แบบกลุ่ม ,เอกสารต่างๆ,program computer ที่เพิ่งปรับปรุงเสร็จ

 

สิ่งที่ได้รับ

  1. การป้องกันเบาหวานในแนวเชิงรุก
  2. ได้เห็นถึงความทุ่มเท ความมุ่งมั่นของทีมQIT DM,โดยได้รับการสนับสนุนจากผู้บริหาร
  3. เห็นตัวอย่างของทีมสหสาขาวิชาชีพที่เข้มแข็ง,และไม่หวงความรู้
  4. การจัดบริการการให้ความรู้ทั้งแบบเดี่ยวและแบบกลุ่ม
  5. ขั้นตอนการให้บริการที่ชัดเจนในด้านเอกสารและการติดตาม
  6. ใช้ITจัดเก็บข้อมูลให้เป็นระบบ
  7. ในเชิงรุก ให้มีการสร้างความสัมพันธ์ สร้างความเข้มแข็งของชุมชนโดยมีอาสาสมัครเป็นแกนนำ
  8. ข้อคิดใหม่ๆ:ให้เกิดแนวความคิดที่ดีกับตัวผู้ป่วยเอง ว่าตนเองมีคุณค่า,มีความมั่นใจ,มีความสามารถ

 

ขอขอบคุณ

1.       นพ. สวัสดิ์ เถกิงเดช                                ผอ.รพ.นพรัตน์

2.       นาง สุนันทา หิรัญณูปกรณ์                     รองผอ.กลุ่มภารกิจบริการวิชาการ

3.       นพ..วัลลภ พัฒนาโสภณ                         ประธาน QIT DM

4.       พญ. เจียมรัตน์ ผลาสินธุ์                         หัวหน้ากลุ่มงานกุมารเวชกรรม

5.       พญ. จีรภัทร วงศ์ชินศรี                            หัวหน้ากลุ่มงานอายุรกรรม

6.       ภญ. นวลจันทร์ เทพศุภรังษกุล              หัวหน้ากลุ่มงานเภสัชกรรม

7.       นาง รำพึง ปุยแก้ว                                   รองหัวหน้ากลุ่มงานโภชนวิทยา

8.       ภญ. นิตยา ภาพสมุทร                             เภสัชกร

9.       ภญ.วราภรณ์ ภูมิอภิรัตน์                    เภสัชกร

10.   ภก. สมรัฐ ตรักูลกาญจน์                         เภสัชกร

11.   คุณเรียวพลอย กาคู่พร้อม                       นักโภชนากร

12.   คุณอุทุมพร คำศรี                                     นักโภชนากร

13.   คุณสุมาลี หมักสะและ                            พยาบาลวิชาชีพ

14.   คุณ อรุณศรี ไชยพรพัฒน์                        พยาบาลวิชาชีพ

15.   คุณวันวิสา ทิมมานพ                               พยาบาลให้คำป

หมายเลขบันทึก: 194189เขียนเมื่อ 14 กรกฎาคม 2008 23:17 น. ()แก้ไขเมื่อ 6 กันยายน 2013 19:17 น. ()สัญญาอนุญาต: จำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท