ทิศทางวิจัยยุคนี้


สถิติวิจัย

สำหรับทิศทางการวิจัย ต้องคำนึง

-          ประเด็นสู่ปัญหา  

-          วิธีการแก้ปัญหา  เช่น   การหาประสิทธิภาพ ความสัมพันธ์  กระบวนการ ต้องมี

ผลลัพธ์ตามเกณฑ์  85 /85  หรือไม่

 ในส่วนของการหา Sample Size  มีเกณฑ์ดังนี้

1.       ตารางสำเร็จรูป  เช่น ของยามาเน่, มอร์แกน เป็นต้น

2.       เกณฑ์ร้อยละ เช่น ร้อยละ 30  ของทั้งหมด เป็นต้น

3.       สูตรคำนวณ  กรณีนี้จะมีความแม่นยำที่สุด และมีความน่าเชื่อถือ ซึ่งมีทั้งกรณีสูตรที่

ทราบจำนวนประชากรและไม่ทราบจำนวนประชากร เช่น

                N=z2a/2 / 4d2,  ไม่พบค่าสัดส่วน

 

N= z2a/2 /  (s)2 /d2, s2  =  ความแปรปรวนของกลุ่มตัวอย่าง

การหาขนาดตัวอย่าง ส่วนใหญ่ มี  2 สาขา คือ

-          สังคมศาสตร์  : สนใจสูตรคำนวณ เพื่อจะไปสัมภาษณ์โดยการสัมภาษณ์ มักมีความแม่นยำกว่าการสำรวจ (survey) เสมอ

-          วิทยาศาสตร์ :  ไม่ค่อยสนใจสูตรคำนวณ  เพราะมีข้อจำกัดด้านตัวอย่าง ที่ส่วนใหญ่เป็นการทดลอง

การสุ่มตัวอย่าง   (Sampling)

มีกรณีการสุ่มตัวอย่าง  (Random) เช่น

-          Simple random  sampling  (การสุ่มอย่างง่าย)

-          Systematic   random  sampling  (การสุ่มแบบเป็นระบบ)

-          Cluster  random  sampling  (การสุ่มแบบกลุ่ม)

-          Stratified  random  sampling  (การสุ่มแบบแบ่งชั้น)

-          Multistage  random  sampling  (การสุ่มแบบหลายขั้นตอน)

นอกจากนั้นมีการหาตัวอย่างแบบไม่มีการสุ่ม (Non- random  sampling)  เช่น แบบ

เจาะจงเลือกเอา เป็นต้น

ข้อพิจารณา

                -  การสุ่มอย่างง่าย และสุ่มเป็นระบบโอกาสจะแจกแบบสอบถามค่อนข้างยาก เพราะความ

เท่าเทียมกันด้านคุณลักษณะทั่วไป  (Charactor)  และที่อยู่ในการติดตามอาจลำบากในการหาให้เจอ

                -  การสุ่มแบบแบ่งชั้น  หรือกลุ่มย่อย เช่น การสุ่มที่ไม่เหมือนกันต้องหาเกณฑ์ในการแบ่ง

ให้ได้ตามหลักวิชาการ Group หรือ Stratum ต้องภายในกลุ่มสมาชิกเหมือนกันต่างกลุ่มมีความ

แตกต่างกัน จึงมีความมั่นใจว่าทุกกลุ่มจะเป็นตัวแทนที่ดีกว่าแบบสุ่มอย่างง่าย และเป็นสุ่มแบบเป็น

ระบบ

                -  การสุ่มแบบกลุ่ม  เป็นการสุ่มกลุ่มเล็กที่มาจากกลุ่มใหญ่  ดังนั้น สมาชิกระหว่างกลุ่มจะ

เหมือนกัน  ภายในกลุ่มต่างกัน  หรืออาจเรียกว่า สุ่มเป็นพวง (Sampling  Unit) ที่เป็น Individauls

เป็น Class เป็น School เป็นกระชังปลา  เป็นต้น

-          การสุ่มแบบหลายขั้นตอน : เช่น  จังหวัด  จากเขต เขตจากประเทศ  เป็นต้น

สำหรับการหาตัวอย่างแบบไม่สุ่ม (Non random) มีหลายวิธี เช่น Purposive , System , Accidental ,

Quota  เป็นต้น โดยสัดส่วนตัวอย่างจะเป็นการกำหนดขนาดที่ไม่มีการสุ่ม 

สำหรับข้อสรุป (Conclusion) ด้านเครื่องมือที่สร้างเอาสำหรับการวิจัย

-     กรณีแบบทดสอบ (Test )  และแบบสอบถาม จะเป็นการวัดความรู้ 40% วัดความสามารถ 60% ถ้าแบบทดสอบถามชาวบ้าน ควรใช้แบบถูก/ผิด  ถ้าเป็นนักเรียน อาจใช้ตัวเลือก ก ข ค ง  เพื่อวัดความรู้  และความเข้าใจ  ส่วนคุณภาพ นิยมหาอำนาจจำแนก ค่าความยากง่าย และค่าความเชื่อมั่น

-     กรณีแบบสอบถาม : คุณภาพเครื่องมือที่ต้องการ คือ ความเชื่อมั่น (Conbrach แอลฟ่า) และการวัดค่าอำนาจจำแนก ( Discriminating Power) เป็นการหาค่าตามรายข้อ (Item)  หรือภาพรวม (Total correlation xy )  ถ้า Item ในแต่ละด้าน คำถามแต่ละข้อต้องวัดเรื่องเดียวกัน หรือมีความสัมพันธ์ของ xy สูงนั่นเอง (xy=?)

เช่นถ้า  ตัวอย่าง 30  คน      แอลฟ่า = 0.5  , r= 1  มีสูตร คือ

                                     r (n-2)  

                         1

แทนค่า      0.05   r  (30-2)   =  ?              เป็นต้น

ข้อพิจารณาในการนำเสนอข้อมูล สำหรับการถามความคิดเห็น  มีข้อพิจารณาคือ

สมมุติฐาน  ตารางที่  1

ความคิดเห็น                ชาย                                        หญิง                             รวม                                                                     

ข้อที่                                          ค่าเฉลี่ย   SD                      ค่าเฉลี่ย   SD                     ค่าเฉลี่ย   SD 

1

2

3

4

5

       

คำว่า  รวม  ยังทำให้ผู้อ่านสับสนว่ารวมอะไร 

ซึ่งเป็นสิ่งที่ผิด 

ดังนั้นต้องขยายความอีก คือ นักเรียน ป.6 โดยรวม 

จึงต้องถูกต้อง

หมายเลขบันทึก: 170393เขียนเมื่อ 11 มีนาคม 2008 18:59 น. ()แก้ไขเมื่อ 24 มิถุนายน 2012 02:37 น. ()สัญญาอนุญาต: จำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (3)

สวัสดีค่ะคุณดร.ชาน

พบข้อมูลในเวป มีความรู้จัง ยกให้เป็นอาจารย์ละกันนะคะ

สนใจกำลังจะทำวิจัยส่งอาจารย์ คิดว่าจะทำเรื่องผลสัมฤทธิ์การบริหารกองทุนระบบหลักประกันสุขภาพ  กรณีศึกษาขององค์กรหนึ่ง คิดว่าน่าจะทำเป็นเชิงคุณภาพ
หรือปริมาณดีคะ

ถ้าเรียนป.โท ก็ควรฝึกวิจัยเชิงปริมาณไว้ เช่น ปัจจัยด้านเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม และสุขภาพดี หรือแม้กระทั่งด้านการมีส่วนร่วม (ตัวแปรต้นทั้งหลาย) ส่งผลสัมฤทธิ์ ต่อ การบริหารกองทุนฯ(ตัวแปรตาม ด้านคน ด้านงบประมาณ ด้านวัสดุ ด้านวิธีการ รวมแล้วต้องได้คะแนน หรือร้อยละเท่าไหร่จึงจะผ่านเกณฑ์) ขอให้พิจารณามาตรวัดตัวแปรต้นและตาม แล้วเลือกสถิติที่เหมาะสมก็แล้วกัน

ส่วนถ้าเรียนป.เอก ก็ควรทำแบบผสมทั้งเชิงปริมาณและคุณภาพ จะได้เป็นข้อมูลที่ยืนยันข้อเท็จจริงซึ่งกันและกัน และสร้างความน่าเชื่อถือยิ่งขึ้น

ประมาณนี้ก่อนนะครับ

ขอบคุณค่ะอาจารย์....ตกลงทำเชิงปริมาณ กำลังจะไปส่งโครงร่างอาจารย์ที่ปรึกษาบ่ายน้

............

ขอคำถามก่อนขี้นเขี๋ยง....ด่วนที่สุดในโลก..........

ไปตรวจมาว่าเป็นเนื้อร้ายที่เต้านม (คงวินิจฉัยถูก).ไปมาหลาย ร.พ..เต้านมแข็ง.แต่ไม่เจอก้อน

จะคีโมก่อน..แล้วผ่าตัด

วันจันทร์นี้(6 ก.ย) ประชุมร่วมคณะแพย์เสร็จแล้วบรรเลงเลย

กังวลนะ..ใจสู้ แต่เกรงว่าร่างกายรับไม่ไหว ร่างกายอ่อนแอ เปนลมง่าย ถึงช๊อค

แพ้ง่าย ........ทำใหม่จะเหมือนเดิมมะคะ เสียดายจัง

...............เด่วบ่ายนี้ไปส่งโครงร่างเสร็จกะว่าจะหาเตรียมหาซื้อวิคด้วย

โธ่..ไม่น่าเลย ........ในชีวิตนี้เจอแต่เรื่องแปลกประหลาดซะทุกเรื่อง

ดีที่สอบคอมเสร็จเมื่อต้นเดือน เหลืออีกสองวิชา..มะน่าเล้ยเรา

ขณะเขียนเนี๊ยะ..รุสึกแปล๊บๆจิ๊ดๆที่ก้อนเต้านม (สงสัยกะลังมันกันน่าดู)

...........อาจารย์อยากแนะนำไรก้อเขียนทิ้งไว้ คืนนี้จะมาอ่าน..(การกินการอยู่)

มีเวเลาเตรียมตัวพรุ่งนี้อีกวัน..มะรืนก้อขับรถไปเองอีก ..(มหาราชเชียงใหม่)

.............

อยากให้ปาฎิหาริย์มีจริงว่าไม่เปน.........คงไม่ทันแล้วแหละอาจารย์..วันจันทร์ก้อเสียบยาเรียบร้อยแล้ว

leelavadee

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท