นโยบายพัฒนาการประมงแห่งชาติ พ.ศ. 2545-2549


นโยบายพัฒนาการประมงแห่งชาติประกอบด้วยนโยบายหลัก 5 นโยบาย
                     นโยบายพัฒนาการประมงแห่งชาติ พ.ศ. 2545-2549 
        นโยบายพัฒนาการประมงแห่งชาติประกอบด้วยนโยบายหลัก 5 นโยบายคือ
1.นโยบายพัฒนาเกษตรกรประมงและองค์กรทีเกี่ยวข้อง
2. นโยบายการบริหารจัดการทรัพยากรประมงและสิ่งแวดล้อม
3. นโยบายพัฒนาการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ
4. นโยบายพัฒนาการประมงนอกน่านน้ำ
5. นโยบายพัฒนาอุตสาหกรรมและธุรกิจการประมง
 
1.นโยบายพัฒนาเกษตรกรประมงและองค์กรทีเกี่ยวข้อง โดยการสนับสนุนให้เกษตรกรประมงมีคุณภาพชีวิตที่ดีและมีส่วนร่วมในการพัฒนาการประมง ส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้ให้แก่เกษตรกรประมงอย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง รวมทั้งสนับสนุนให้กลุ่มอาชีพประมงต่างๆทุกระดับมีความเข้มแข็ง มีศักยภาพในเชิงธุรกิจโดยมียุทธศาสตร์และแนวทางในการพัฒนาที่สำคัญ ดังต่อไปนี้
1.1 สนับสนุนให้เกษตรกรประมงและองค์กรที่เกี่ยวข้องมีส่วนร่วมในการพัฒนาการประมง
 
1.2 ส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้ให้แก่เกษตรกรประมงอย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง
1.3 เสริมสร้างความเข็มแข็งและศักยภาพในเชิงธุรกิจให้แก่กลุ่มอาชีพประมงต่างๆทุกระดับ
2. นโยบายการบริหารจัดการทรัพยากรประมงและสิ่งแวดล้อม
โดยการปรับปรุงการบรอหารจัดการ ฟื้นฟู คุ้มครอง และอนุรักษ์ทรัพยากรประมง สิ่งแวดล้อม โดยมียุทธศาสตร์และแนวท
2.1 ปรับปรุงการบริหารจัดการทรัพยากรประมงและสิ่งแวดล้อม
2.2 เสริมสร้างให้ประชาชนตระหนักถึงคุณค่าทรัพยากรประมงและสิ่งแวดล้อม
2.3 สนับสนุนให้องค์กรชุมชนทุกระดับมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการทรัพยากรประมงและสิ่งแวดล้อม
2.4 ฟื้นฟูทรัพยากรประมงและสิ่งแวดล้อมที่เสื่อมโทรม  
2.5 สนับสนุนด้านการคุ้มครองและอนุรักษ์ความหลากหลายทางชีวภาพ
2.6 สนับสนุนการพัฒนาเทคโนโลยีและบุคลากรด้านการบริหารจัดการทรัพยากรประมงและสิ่งแวดล้อม
3.นโยบายพัฒนาการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ
โดยการพัฒนาการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำทั้งในระดับพื้นบ้านตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง และเพิ่มผลผลิตสัตว์น้ำที่มีคุณภาพจากการเพาะเลี้ยงให้เพียงพอต่อการบริโภค และการส่งออก สนับสนุนการวิจัยด้านการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำและพัฒนาเทคโนโลยีชีวภาพ การปรับปรุงระบบการเลี้ยงกุ้งทะเลให้มีความยั่งยืนและพัฒนาการเลี้ยงปลาสวยงามและพรรณไม้น้ำเพื่อการส่งออก โดยมียุทธศาสตร์และแนวทางการพัฒนา ดังนี้
3.1 พัฒนาการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำระดับพื้นบ้านตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
3.2 พัฒนาคุณภาพและเพิ่มผลผลิตสัต์น้ำจากการเพาะเลี้ยงให้เพียงพอต่อการบริโภคและส่งออก
3.3 สนับสนุนการวิจัยด้านการเพาะเลี้ยงและพัฒนาเทคโลยีชีวภาพ
3.4 ปรับปรุงระบบการเลี้ยงกุ้งทะเลให้มีความยั่งยืนโดย
3.5 พัฒนาการเลี้ยงปลาสลวยงามและพรรณไม้น้ำเพื่อการส่งออก
4.นโยบายพัฒนาการประมงนอกน่านน้ำ
โดยการส่งเสริมและพัฒนาความร่วมมือด้านการประมงกับต่างประเทศและในน่านน้ำสากล พัฒนาระบบการบริหารจัดการประมงนอกน่านน้ำ ตลอดจนพัฒนาสิ่งอำนวยความสะดวกขั้นพื้นฐานรองรับการประมงนอกน่านน้ำ โดยมียุทธศาสตร์และแนวทางการพัฒนาดังนี้
4.1 ส่งเสริมความร่วมมือด้านการประมงกับต่างประเทศ
4.2 พัฒนาสิ่งอำนวยความสะดวกขั้นพื้นฐานรองรับการประมงนอก
 4.3 พัฒนาระบบการบริหารจัดการประมงนอกน่านน้ำ
4.4 ส่งเสริมและพัฒนาการทำประมงในน่านน้ำสากล
5.นโยบายพัฒนาอุตสาหกรรมและธุรกิจการประมง
โดยการจัดหาวัตถุดิบที่มีคุณภาพให้เพียงพอต่อความต้องการของภาคอุตสาหกรรม ส่งเสริมและพัฒนากระบวนการผลิตและผลิตภัณฑ์สัตว์น้ำให้ได้มาตรฐาน
การปรับปรุงโครงสร้างองค์กรที่เกี่ยวข้องให้มีศักยภาพในการควบคุมและให้บริการ โดยมียุทธศาสตร์แนวทางการพัฒนา ดังนี้
5.1 จัดหาวัตถุดิบที่มีคุณภาพให้เพียงพอกับความต้องการของภาคอุตสาหกรรม โดย
 
5.2  ส่งเสริมและพัฒนากระบวนการผลิตและผลิตภัณฑ์สัตว์น้ำให้ได้มาตรฐาน โดย
5.3  เพิ่มศักยภาพในการแข่งขันและขยายตลาดสินค้าสัตว์น้ำ โดย
5.4  พัฒนาอุตสาหกรรมและธุรกิจประมงขนาดกลางและเล็ก
5.5  ปรับโครงสร้างองค์กรให้เกิดศักยภาพในการควบคุมและการให้บริการ

http://www.fisheries.go.th/dof_thai/

คำสำคัญ (Tags): #uncategorized
หมายเลขบันทึก: 14806เขียนเมื่อ 8 กุมภาพันธ์ 2006 16:38 น. ()แก้ไขเมื่อ 25 มีนาคม 2012 23:21 น. ()สัญญาอนุญาต: จำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท