ตัวบ่งชี้คุณภาพห้องสมุดอุดมศึกษา ที่พัฒนา โดย PULINET จุฬาฯ ISO


              ตัวบ่งชี้คุณภาพห้องสมุดอุดมศึกษา ที่พัฒนา โดย PULINET  จุฬาฯ ISO โดยวิทยากร 3 คนคือ ดร.พฐา สุวรรณรัตน์  (PULINET)ผศ.ดร.พิมพ์รำไพ  เปรมสมิทธ์(จุฬาฯ) สุวรรณา  ธนพัฒน์ (ISO)

 ประเด็น    PULINET   จุฬา ISO 
 ตัวบ่งชี้   6 องค์ประกอบ
33 ตัวบ่งชี้  
 12 ตัวชี้วัด  49 ตัวชี้วัด
 เนื้อหา

1.องค์ประกอบด้านการบริการห้องสมุด
2.องค์ประกอบด้านระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ
3.ความร่วมมือในการใช้ทรัพยากรร่วมกัน
4.องค์ประกอบด้านการบริหารจัดการ
5.ทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
6.การบริการทางวิชาการและวิชาชีพ

1. ปรัชญา/ปณิธาน/วัตถุประสงค์ขององค์กร
2. การกำหนดแผนกลยุทธ์การบริหารจัดการ
3. ระบบคุณภาพขององค์กร
4. ภาวะผู้นำของผู้บริหาร (Leadership)
5. ระบบการบริหารบุคลากรสายสนับสนุน
6. ระบบฐานข้อมูล เพื่อการบริหารจัดการ
7. ระบบและกลไก ตรวจสอบและ/หรือตรวจประเมินภายใน
8. ระบบและกลไกรองรับการตรวจประเมินภายนอก
9. ระบบการแก้ไขปรับปรุงและเฝ้าระวังที่นำไปสู่การพัฒนาองค์กรอย่างต่อเนื่อง
10. การพัฒนาบุคลากรสายสนับสนุน
11. การกำหนดแผน เป้าหมาย และกิจกรรมเพื่อพัฒนาหน่วยงานสู่ความเป็นเลิศ
12. การเสริมสร้างคุณธรรม และจริยธรรม (จรรยาบรรณ ถ้ามี)

 1.ความพึงพอใจของลูกค้า
2.ร้อยละของจำนวนผู้มาใช้บริการ
3.ต้นทุนต่อการให้บริการผู้ใช้บริการห้องสมุด
4. จำนวนลูกต้าที่เข้าห้องสมุด
5. ต้นทุนต่อลูกค้าที่เข้าห้องสมุด
6.จำนวนชื่อเรื่องที่ให้บริการ
7.จำนวนชื่อเรื่องที่ลูกค้าต้องการ
8. ร้อยละของชื่อเรื่องที่ลูกค้าต้องการ

ข้อมูลเพิ่มเติม

 จุดเด่น  - พัฒนาโดยข่ายงานห้องสมุดส่วนภูมิภาค
- PULINET มีจุดเด่นเรื่องการใช้ทรัพยากรร่วมกัน
- ผ่านการวิพากษ์โดยผู้ทรงคุณวุฒิ (สกอ.)
 แบ่งเป็น 2 กลุ่มคือ
- ข้อกำหนดพื้นฐาน
o สิ่งที่สถาบันทั่วๆ ไปพึงมี
- ข้อกำหนดเพื่อความก้าวหน้า
 
ประเด็นน่าสนใจ    ของจุฬาเป็นเกณฑ์ไต่ระดับ 7 ระดับ
- มีการปรับแนวคิดใหม่ เป็น 3 ด้านคือ
- มีการพัฒนาปรับปรุง แนวคิดของมาตรฐาน
- การพัฒนาและปรับปรุงด้านข้อกำหนด มาตรฐาน ตัวชี้วัด และเกณฑ์มาตรฐาน
- การพัฒนาและปรับปรุง
ด้านระบบการตรวจติดตามและตรวจประเมิน
- จุฬามีการประเมินแบ่งกลุ่ม การประเมิน
- น่าสนใจ
- จำนวนครั้งข้อผิดพลาดในการให้บริการ/จำนวนการให้บริการทั้งหมด
- มี KPI ประจำกลยุทธ์
- จำนวนชั่วโมงที่เข้าใช้บริการไม่ได้
 
       
หมายเลขบันทึก: 146576เขียนเมื่อ 15 พฤศจิกายน 2007 10:05 น. ()แก้ไขเมื่อ 18 มิถุนายน 2012 15:37 น. ()สัญญาอนุญาต: จำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (2)

ทุกตัวบ่งชี้ ทุกเกณฑ์ก็ดีทั้งหมดค่ะ แต่ว่าเราควรนำมาใช้ให้เหมาะสมกับบริบทของเรา หรือเปล่าค่ะอาจารย์

นางสาวเบญจมาศ มีศรี

อยากทราบเรื่อง

-การรักษามาตราฐานการให้บริการ งานบริการของห้องสมุดแต่ละงาน เช่น บริการยืม-คืนควรมีมาตราฐานในการยืม-คืน

-ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการรักษามาตราฐานระยะเวลาการให้บริการ

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท