หน่วยงานอื่นมองโรงเรียนในฝันอย่างไร ?


งานวิจัยโครงการโรงเรียนในฝัน ..... 2550

หน่วยงานอื่นมองโรงเรียนในฝันอย่างไร ?

สถาบันวิจัยนโยบายและแผนอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตยได้รับทุนสนับสนุนจากสํานักประเมินผลการจัดการศึกษา สํานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา เป็นเงิน1,056,000 บาท เพื่อประเมินโครงการ ๑ อําเภอ ๑ โรงเรียนในฝัซึ่งไดเริ่มดําเนินการตั้งแต่1 มิถุนายน 2549 และ เสร็จสิ้นเมื่อ 28 มิถุนายน 2550 คณะผู้ประเมินประกอบด้วยบุคลากรจากสถาบันวิจัยนโยบายและแผนอุดมศึกษา <ol style="margin-top: 0cm"> <li class="MsoNormal" style="margin: 0cm 0cm 0pt; tab-stops: list 36.0pt"> ในสวนของการบริหารจัดการโดยใชโรงเรียนเป็นฐานนั้น เป็นการดําเนินงานที่ทางโรงเรียนพึงพอใจเป็นอันดับแรก เนื่องจากมีการรวมพลังในการพัฒนาโดยใหนักเรียน ครู ชุมชนและภาคี เครือข่ายอุปถัมภเข้ามามี ส่วนร่วม มี การปรับวิธี เรียนเปลี่ยนวิธี สอนโดยบูรณาการเทคโนโลยี เข้ากับกิจกรรมการเรียนการสอน มีการใหนักเรียนเปนผู้ แทนนําเสนอกิจกรรมของโรงเรียนเพื่อเข้ารับการประเมิน เพื่อมุ่งสู่กระบวนทัศนการเรียนการสอนแบบสร้างสรรค์นิยม </li> <li class="MsoNormal" style="margin: 0cm 0cm 0pt; tab-stops: list 36.0pt"> การเพิ่มสมรรถนะของโรงเรียนในการใชเทคโนโลยีเป็นตัวเชื่อมในการเรียนการสอนและการบริหารจัดการศึกษาเปนกิจกรรมที่ประสบผลสําเร็จอันดับสอง การพัฒนาระบบ ICT ของตนแบบโรงเรียนในฝันปรากฏชัดเจนในห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอรและห้องปฏิบัติการกลุ่มสาระ
ต่
างๆ นักเรียนสามารถเข้าถึงเทคโนโลยี มีทักษะความรู
ด้านคอมพิวเตอรในการสืบค้นแหล่งข้อมูลและประยุกตใช้ในกิจกรรมการเรียน </li> <li class="MsoNormal" style="margin: 0cm 0cm 0pt; tab-stops: list 36.0pt"> การจัดสรรงบประมาณและทรัพยากรเพื่อพัฒนาโรงเรียนเป็นกิจกรรมที่ประสบผลสําเร็จเป็นอันดับที่สาม สาเหตุการก่อภาระหนี้ผูกพันดังที่ไดกล่าวข้างต้นทําใหโรงเรียนมีหนี้สิน ซึ่งพบว่าหนี้ สินโดยเฉลี่ยของโรงเรียนขนาดใหญประมาณ 411,886.92 บาท โรงเรียนขนาดกลาง 2,377,838.22 บาท โรงเรียนขนาดเล็ก 1,261,932.23 บาท และโรงเรียนขนาดเล็กพิเศษ (จํานวนนักเรียนน้อยกว 500 คน) 635,854.20 บาท กิจกรรมที่ทางโรงเรียนดําเนินการระดมทุน เช่น การทอดผ้าป่าการกุศลเพื่อการศึกษา องค์กรท้องถิ่นที่มีบทบาทในการพัฒนา คือผูปกครอง ชุมชน อบต. เทศบาล และ อบจ. </li> <li class="MsoNormal" style="margin: 0cm 0cm 0pt; tab-stops: list 36.0pt"> กิจกรรมด้านการเรียนรูและการพัฒนาของบุคลากรเข้าสูความเป็นมืออาชีพและการได้รับการช่วยเหลือจากสถาบันอุดมศึกษาใกล้เคียงถูกจัดไวเป็นอันดับที่สี่ ครู -อาจารยที่ตอบแบบสอบถามจากกลุ่มต้นแบบโรงเรียนในฝันและกลุ่มที่ ยังไม่ได้รับการประเมินจํานวน 394 โรงเรียน ได้รับการอบรมด้านการพัฒนาหลักสูตร และกระบวนการเรียนรู้ 15,828 คน ด้านการประยุกต์ใช ICT 17,284 คน และกลุ่มครู-อาจารยที่ สามารถใช ICT พัฒนางานไดจํานวน 1,511 คน แตในด้านความช่วยเหลือจากสถาบันอุดมศึกษาที่ทําหน้าที่เป็นพี่เลี้ยงไม่เป็นไปตามที่คาดหวังเนื่องจากขาดแรงจูงใจในการดําเนินงานและงบประมาณดําเนินการไม่เพียงพอ </li> </ol>  <div style="text-align: center"></div>         <div style="text-align: center"></div>

หมายเลขบันทึก: 136775เขียนเมื่อ 9 ตุลาคม 2007 21:43 น. ()แก้ไขเมื่อ 6 กันยายน 2013 18:26 น. ()สัญญาอนุญาต: จำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท