หน่วยการเรียนรู้แบบ Backward design


Backward design
                    หน่วยการเรียนรู้แบบ Backward  design  เป็นวิธีการออกแบบการจัดการเรียนรู้ที่เริ่มจากหลังมาหน้า  โดยผู้สอนต้องทำการวิเคราะห์หลักสูตร  กำหนดเป้าหมายการเรียนรู้หรือผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง   กำหนด Concept  ความรู้ ความเข้าใจ  และทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ที่ต้องการให้เกิดแก่ผู้เรียนให้ชัดเจน  จากนั้นจึงนำไปออกแบบการจัดกิจกรรมเพื่อให้เกิดการเรียนรู้  ซึ่งผู้สอนจะสามารถควบคุมคุณภาพของหน่วยการเรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ  มีเป้าหมายชัดเจน  มีแผนการจัดการเรียนรู้ได้ตรงตามมาตรฐานของหลักสูตร  สามารถตรวจสอบ  เชื่อมโยงความสอดคล้องในการจัดการเรียนรู้  มองเห็นมิติต่างๆที่ซ่อนในมาตรฐานได้อย่างครบถ้วน  อีกทั้งลดภาระงานที่ซ้ำซ้อนของครูผู้สอนและของนักเรียน
หมายเลขบันทึก: 131436เขียนเมื่อ 25 กันยายน 2007 09:50 น. ()แก้ไขเมื่อ 30 เมษายน 2012 23:07 น. ()สัญญาอนุญาต: จำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (5)

วันหลังจะนำตัวอย่างการเขียนแผนการจัดการเรียนรู้มานำเสนอ

 ได้รับความรู้เกี่ยวกับการจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้ Backward  Design   ดีมากค่ะ   ขอบคุณนะคะที่เผยแพร่สู่ครูวิท์ประถม  จะนำไปปรับปรุงการจัดทำแผนการเรียนรู้ต่อไป

หน่วยการเรียนรู้แบบนี้กำลังเป็นที่กล่าวขัวญกันอยู่มาก คิดว่าถ้าครูทุกคนนำมาใช้ จะได้ประโยชน์มากสำหรับนักเรียน

สวัสดีครับคุณครูอมรรัตน์

ได้รับความรู้เกี่ยวกับการจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้ Backward  Design   ขอบคุณนะครับ น่าจะใช้ไปปรับปรุงการจัดทำแผนการเรียนรู้ภาคเรียนต่อไป

สวัสดีครับ อาจารย์อมรรัตน์

      ขอบคุณที่แวะไปเยี่ยมชมเมฆนะครับ ช่างบังเอิญจริงๆ ที่อยู่ซอยเดียวกัน!

      ช่วงนี้ผมใช้เวลากับ origami (ศิลปะการพับกระดาษ) มาเป็นพิเศษครับ คือ ใช้เพื่อความสนุกเพลิดเพลินด้วย ใช้เป็นสื่อในการสอนวิทยาศาสตร์-คณิตศาสตร์ด้วย

      นำตัวอย่างมาให้ชมครับ

 
บันทึก : กระต่ายถวายพระพร

 

ตัวอย่างแบบพับในงาน CMU Book Fair 2008

 

 

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท