มัทนา
มัทนา (พฤกษาพงษ์) เกษตระทัต

ความจริง FACT and TRUTH


บันทึกครั้งแรกเมื่อ Monday, September 13, 2005

[คัดลอกมาจาก blog เก่าค่ะ] 

Question: Something exist and something is true is a different story?
because of the need of language to present (talk about) that particular existence,
the statement that present that something exists becomes first "a claim" -
Which needs to be defensible? Is it' true, it become a fact?

but at the same time, to Test if the statement (epistemiologically derived) is true or false: Chalmers (what is this thing called science) referred to the Correspondence theory of truth that "a sentence is true if and only if it corresponds to the facts." (ontological or epistmic facts? - both)

For example: the predicate "is on the mat" is satisfied by x if and only if x is on the mat. Then a statement "a cat is on the mat" is true if and only if a cat is on the mat. (and is false is it isn't.)

What is fact? There are two kinds of fact?
1. ontological objective fact: a cat has 4 legs, tactonic plates can move.
2. epistemic objective fact: George W. Bush is president of the United States; and the fact that, for example, the piece of paper I have in my hand is a twenty dollar bill [= social construct]

Both kind of objectivity can be ascertained as true or false independent of the attitudes of observers. They become facts when they are ascertained as true?

But then, pains, tickles, itches, emotions and thoughts have a mode of existence which is ontologically subjective in the sense that they only exist insofar as they are experienced by human or animal subjects. - can they become facts?

answer: yes, ontological subjective can be epistemiologic objective = fact

something exists = ontologically there (whether it exists objectively or subjectively) therefore, when people present it's existence, the statement or claim (epistemic objective) may be true or flase - have to have method to test. Then if it's true, it become a matter of fact (whether be an ontological fact or an epistemiological fact).

From the last post, Searle said,

The truth value depends on what we've agreed on the meanings of the terms in the sentences, and the measuring devices, etc.
So to check if a statement corresponds to the fact is to use a method, device, and meaning that people agreed upon?

Then truth is majority agreement? but may not corespond to the ontological fact?
We have to ask then, is it personal truth or public truth? for personal truth, yes it may not. But public truth should correspond to ontological objectivity?

(Note that truth is epistemiologically derived - because phenomena are transformed in the act of measurement, then the observer is never really independent of the phenomena under investigates. - Heisenberg's principle)


Question: what about a matter of opinion (epistemiological subjectivity): can we test and find the answer of majority? Can this kind of opinions become facts? No because there's no method, or device, or no agreement on the meaning of the term??? for example: which picture is more beautiful? none of the answer can become fact?

so a fact is not really a true statement that majority agree upon? or it is?
in general people would agree that a statement is true, only if it exists, it really happened,
whether it's objective or subjective. If it exists (ontological) objectively, then it's most likely that almost everyone agree that such statement is true. Things become more complicated when people try to judge if a statement that comes from ontological subjectivity is true or false.
We may get both agreement and disagreement. Maybe it will never become an acceptable fact.

but the way to make sense of all of this is to use pragmatic judgement, what is useful is true (Patton). Research is not to prove, but to improve (Kvale).

If you can prove or disprove that certain statement is true but it doesn't help the world, then I am not interested.

คำสำคัญ (Tags): #ปรัชญา#ป. เอก
หมายเลขบันทึก: 88622เขียนเมื่อ 5 เมษายน 2007 07:17 น. ()แก้ไขเมื่อ 21 มิถุนายน 2012 23:21 น. ()สัญญาอนุญาต: จำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (5)
อ่านมะออกครับ ขอsubtitle ด้วยครับ

กระบี่อยู่ที่ใจ ใจอยู่ที่กระบี่

ใช้กระบี่โดยไร้ใจ เท่ากับสังหารตนเอง

อันนี้แปลลำบาก ต้องใช้เวลา กะว่าจะแปลเหมือนกัน แต่คงต้องรอพักใหญ่ๆนะ

ที่เขียนไว้นี่เผื่อคนที่เรียนป.เอกต่างประเทศมาอ่าน จะได้เอาไปใช้ในการทำวิทยานิพนธ์ได้อ่ะค่ะ 

เดินทางผ่านมาคับ

มนุษย์ไม่สามารถหลีกเลี่ยงการใช้ภาษาในการติดต่อสื่อสาร ภาษาที่เราใช้สื่อสารบ่งชี้ถึงสิ่งที่มีอยู่ ข้อความจึงสื่อสารเพื่อบ่งบอกถึงความมีอยู่ของบางสิ่งหรือยืนยันความมีอยู่ของบางสิ่ง เช่น น้ำเดือดเมื่ออุณหภูมิ 100 องศา เมื่อผู้พูดกล่าวเช่นนี้ แสดงถึงการยืนยันของความมีอยู่ของความจริงเรื่องน้ำเดือด แต่ข้อความที่พูดจะจริงหรือไม่ ต้องพิสูจน์ด้วยทฤษฎี เช่น ทฤษฎี Correspondence จึงใช้เพื่อดูว่าสิ่งที่ผู้พูดอ้างนั้นสอดคล้องกับข้อเท็จจริงที่มีอยู่หรือไม่ ถ้าสอดคล้องก็ถือว่าจริง เหมือนกับบางคนตั้งข้อความว่า "สาวโสดอารมรณ์แปรปรวนมาก" ก็ไปดูว่าตรงกับข้อเท็จจริงหรือไม่ ถ้าตรงหรือสอดคล้องก็ถือว่าจริง ถ้าไม่ก็ไม่จริง

บทความข้องต้นมีสองเรื่องปนกันอยู่คือ ญาณวิทยาและอภิปรัชญา

ในส่วนเรื่องของญาณวิทยาเป็นเรื่องของเราจะรู้ได้อย่างไร แต่อภิปรัชญากล่าวถึงเรื่องความมีอยู่ ผู้เขียนอธิบายถึงเรื่องความมีอยู่ ขณะเดียวกันก็พยายามอธิบายว่าแล้วเราจะรับรู้มันได้อย่างไรขณะที่ในบทความมีเรื่องของข้อโต้แย้งใส่ไว้

ส่วนคำว่า truth ก็มีสองประเภท คือ subjective truth ก็คือ ความจริงที่ขึ้นกับตัวผู้ตัดสินเอง และ objective truth เป็นความจริงที่มีอยู่ด้วยตัวมันเอง แต่ก็มีปัญหาเช่น เราบอกว่าการปวดฟันคุดเป็น objective fact แต่ทำไมแต่ละคนจึงมีความรู้สึกเจ็บปวดไม่เท่ากัน หรือว่าไม่มี objective truth หรือว่าเป็น subjective truth สงสัยจะเถียงกันไปมาในบทความให้คิดหลายๆมิติ หรือถ้ามิใช่คนๆเดียวแต่เป็น public truth เป็นความจริงของกลุ่ม (majority agreement) เช่น สังคมหนึ่งบอกว่ามีลูกผู้ชายดีกว่าลูกผู้หญิง ก็เป็นความจริงของแต่ละคนที่ตกลงกันออกมาเป็นความจริงของหมู่คณะ แต่ก็คงไม่ใช่ objective truth

ส่วนจะเอาไปใช้ในการเขียนวิทยานิพนธ์ ฝากไว้คิดแล้วกัน

งั้นขออ่านหน่อยนะครับ

แต่พอดีไม่ได้เรียนเอกที่ต่างประเทศ แต่ยืนยันว่าเรียนในเมืองไทยก็อ่านเข้าใจได้ครับ ภาษาปรัชญาแบบนี้ไม่ได้ยากอะไรสักเท่าไหร่ ไม่ต้องเสียเวลาไปเรียนถึงต่างประเทศถึงจะเข้าใจได้หรอกครับ มันอยู่ที่พื้นทางภาษาประกอบกับความขยันในการอ่าน text ของแต่ละคน คนเรียนเอกต่างประเทศ ไม่ได้หมายความว่า จะรู้เรื่องไปซะหมดนะครับ ที่ผ่านมา พานพบนักเรียนนอกที่ดีแต่ใช้ภาษาพูดมาไม่น้อยแล้วครับ

ไว้ถ้าเป็นภาษาอังกฤษแบบนักคิดฝรั่งเศสหรือภาษาแบบยากๆ ของนักปรัชญาคนสำคัญๆ รบกวนเอามาลงด้วยนะครับ

เห็นด้วยทั้งหมดเลยค่ะ ขอโทษถ้าทำให้เข้าใจผิดไปค่ะ

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท