เวทีแลกเปลี่ยนหลังนำเสนอรายงานความก้าวหน้า(ตอนที่ ๒)


หากเป็นเมืองต้องเป็นแบบสร้างความคิด หากเป็นชนบทอาจจะต้องสร้างความมั่นใจ
                อาจารย์ปัทมาวดี จากคณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ได้ให้ข้อเสนอไว้เป็นหัวข้อดังนี้
๑)      แนวทางการจัดการความรู้ที่เกิดขึ้นจริงเหมาะสมกับรูปแบบกองทุนแต่ละแบบ แต่ก็จะมีขั้นตอนแตกต่างกัน เช่น หากเป็นเมืองต้องเป็นแบบสร้างความคิด หากเป็นชนบทอาจจะต้องสร้างความมั่นใจ
๒)    มีการสร้างความรู้ใหม่ (แบบเฉพาะเจาะจง) จากที่เดิมเคยมีหรือไม่ เช่นนวัตกรรมการออม (ทำไมจึงเกิดขึ้น)
๓)    การดูกระบวนการเปลี่ยนแปลง เช่น กลุ่มของครูชบ เปลี่ยนจากออมทรัพย์ เป็นสัจจะวันละ ๑ บาทได้อย่างไร ดูว่าช่วงเกิดเกิดได้อย่างไร มีการจัดการความรู้อย่างไร
๔)    กะหรอทำไมจึงมีการเลือกรูปแบบของสวัสดิการ
๕)    องค์กรการเงินชุมชนเชื่อมโยงกับภาคการผลิตหรือไม่ แล้วจะเชื่อมจากตัวเงินไปสู่ผลผลิตที่เกิดขึ้นได้อย่างไร
๖)    
วิธีการคิดเชื่อมโยงอย่างไร และทำอย่างไร
หมายเลขบันทึก: 8732เขียนเมื่อ 3 ธันวาคม 2005 15:59 น. ()แก้ไขเมื่อ 11 กุมภาพันธ์ 2012 14:11 น. ()สัญญาอนุญาต: จำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท