การคุ้มครองตามกฎหมายระหว่างประเทศ


การคุ้มครอง

สถานการณ์เด่น

บ่อเกิด

บุคคลที่กฎหมายคุ้มครอง

 1.เรื่อง ก่อการร้าย   กฎหมายภายใน กฎหมายอาญามาตรา 113 ผู้ใดใช้กำลังประทุษร้าย หรือขู่เข็ญว่าจะใช้กำลังประทุษร้าย เพื่อ           (3) แบ่งแยกราชอาณาจักรหรือยึดอำนาจการปกครองในส่วนหนึ่งส่วนใด            ผู้นั้นกระทำความผิดฐานเป็นกบฏ...........มาตรา 217 ผู้ใดวางเพลิงเผาทรัพย์ของผู้อื่น ต้องระวางโทษจำคุก ตั้งแต่หกเดือนถึงเจ็ดปี และปรับตั้งแต่หนึ่งพันบาทถึงหนึ่งหมื่นสี่พันบาทมาตรา 221 ผู้ใดกระทำให้เกิดระเบิดจนน่าจะเป็นอันตรายแก่บุคคล อื่นหรือทรัพย์ของผู้อื่น ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินเจ็ดปีและปรับไม่ เกินหนึ่งหมื่นสี่พันบาทกฎหมายระหว่างประเทศกฎบัตรสหประชาชาติหมวดที่ ๖    การระงับกรณีพิพาทโดยสันติ   ข้อ ๓๓๑. ผู้เป็นฝ่ายในกรณีพิพาทใด ๆ ซึ่งหากดำเนินอยู่ต่อไปน่าจะเป็นอันตรายแก่การธำรงไว้ซึ่งสันติภาพและความมั่นคงระหว่างประเทศ ก่อนอื่นจะต้องแสวงหาทางแก้ไขโดยการเจรจา การไต่สวน การไกล่เกลี่ย การประนีประนอมอนุญาโตตุลาการ การระงับโดยทางศาล การอาศัยทบวงการตัวแทน  ส่วนภูมิภาคหรือข้อตกลงส่วนภูมิภาค หรือสันติวิธีอื่นใดที่คู่กรณีจะพึงเลือก      - รัฐ        - สาธารณชน   - สาธารณชน       

- สันติภาพและความมั่นคงระหว่างประเทศ

             
 2.เรื่องการค้า       มนุษย์    กฎหมายภายใน พระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการค้าประเวณี พ..2539มาตรา 5 ผู้ใดเข้าติดต่อ ชักชวน แนะนำตัว ติดตาม หรือรบเร้า บุคคลตามถนนหรือสาธารณสถาน หรือกระทำการดังกล่าวในที่อื่นใด เพื่อการ ค้าประเวณีอันเป็นการเปิดเผยและน่าอับอายหรือเป็นที่เดือนร้อนรำคาญแก่ สาธารณชน ต้องระวางโทษปรับไม่เกินหนึ่งพันบาทมาตรา 8 ผู้ใดกระทำชำเราหรือกระทำอื่นใดเพื่อสำเร็จความใคร่ ของตนเองหรือผู้อื่นแก่บุคคลอายุกว่าสิบห้าปีแต่ยังไม่เกินสิบแปดปีในสถานการค้า ประเวณี โดยบุคคลนั้นจะยินยอมหรือไม่ก็ตาม ต้องระวางโทษจำคุกตั้งแต่หนึ่งปี ถึงสามปี และปรับตั้งแต่สองหมื่นบาทถึงหกหมื่นบาท
         ถ้าการกระทำความผิดตามวรรคหนึ่งเป็นการกระทำแก่เด็กอายุไม่เกิน สิบห้าปี ต้องระวางโทษจำคุกตั้งแต่สองปีถึงหกปี และปรับตั้งแต่สี่หมื่นบาทถึง หนึ่งแสนสองหมื่นบาท
        ถ้าการกระทำตามวรรคหนึ่งเป็นการกระทำต่อคู่สมรสของตน โดยมิใช่เพื่อสำเร็จความใคร่ของผู้อื่น ผู้กระทำไม่มีความผิด
 พระราชบัญญัติมาตรการในการป้องกันและปราบปรามการค้าหญิงและเด็ก พ.. 2540มาตรา 5 ในการกระทำความผิดเกี่ยวกับการค้าหญิงหรือเด็กซื้อ ขาย จำหน่าย พามาจากหรือส่งไปยังที่ใด รับ หน่วงเหนี่ยว หรือกักขัง ซึ่งหญิงหรือ เด็ก หรือจัดให้หญิงหรือเด็กกระทำการหรือยอมรับการกระทำใด เพื่อสนอง ความใคร่ของผู้อื่น เพื่อการอนาจาร หรือเพื่อแสวงหาประโยชน์อันมิควรได้โดยชอบ สำหรับตนเองหรือผู้อื่น ไม่ว่าหญิงหรือเด็กนั้นจะยินยอมหรือไม่ก็ตาม อันเป็นความผิด ตามประมวลกฎหมายอาญา กฎหมายว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการค้าประเวณี กฎหมายว่าด้วยสวัสดิภาพเด็กและเยาวชน หรือพระราชบัญญัตินี้ ให้พนักงานเจ้าหน้าที่ มีอำนาจดำเนินการตามพระราชบัญญัตินี้ พระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายอาญา (ฉบับที่ 14).. 2540  มาตรา 282 ผู้ใดเพื่อสนองความใคร่ของผู้อื่น เป็นธุระจัดหา ล่อไป หรือพาไปเพื่อการอนาจารซึ่งชายหรือหญิง แม้ผู้นั้นจะยินยอมก็ตาม ต้องระวางโทษจำคุก ตั้งแต่หนึ่งปีถึงสิบปี และปรับตั้งแต่สองพันบาทถึงสองหมื่นบาท
ถ้าการกระทำความผิดตามวรรคแรกเป็นการกระทำแก่บุคคลอายุเกินสิบห้าปี แต่ยังไม่เกินสิบแปดปี ผู้กระทำต้องระวางโทษจำคุกตั้งแต่สามปีถึงสิบห้าปี และปรับตั้งแต่ หกพันบาทถึงสามหมื่นบาท
ถ้าการกระทำความผิดตามวรรคแรกเป็นการกระทำแก่เด็กอายุยังไม่เกิน สิบห้าปี ผู้กระทำต้องระวางโทษจำคุกตั้งแต่ห้าปีถึงยี่สิบปี และปรับตั้งแต่หนึ่งหมื่นบาทถึง สี่หมื่นบาท
ผู้ใดเพื่อสนองความใคร่ของผู้อื่น รับตัวบุคคลซึ่งมีผู้จัดหา ล่อไป หรือพาไป ตามวรรคแรก วรรคสอง หรือวรรคสาม หรือสนับสนุนในการกระทำความผิดดังกล่าว ต้องระวางโทษตามที่บัญญัติไว้ในวรรคแรก วรรคสอง หรือวรรคสาม แล้วแต่กรณี
พระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา (ฉบับที่ 20) ..2542มาตรา 133ทวิ ในคดีที่มีอัตราโทษจำคุกอย่างสูงตั้งแต่สามปีขึ้นไป หรือในคดีที่มีอัตราโทษจำคุกอย่างสูงไม่ถึงสามปีและ ผู้เสียหายหรือพยานซึ่งเป็นเด็กร้องขอ หรือในคดีทำร้ายร่างกายเด็กอายุไม่เกินสิบแปดปี การถามปากคำเด็กไว้ในฐานะเป็นผู้เสียหาย หรือพยาน ให้แยกกระทำเป็นส่วนสัดในสถานที่ที่เหมาะสมสำหรับเด็ก และให้มีนักจิตวิทยา หรือนักสังคมสงเคราะห์ บุคคลที่เด็กร้องขอ และพนักงานอัยการเข้าร่วมในการถาม ปากคำนั้นด้วย............   กฎหมายระหว่างประเทศProtocol to Prevent, Suppress, and Punish Trafficking in Persons, especially Women And Children(พิธีสารป้องกันปราบปรามและลงโทษการค้ามนุษย์โดยเฉพาะผู้หญิงและเด็ก)(ก) การค้ามนุษย์การค้ามนุษย์ หมายถึงการจัดหา การขนส่ง การส่งต่อ การจัดให้อยู่อาศัย หรือการรับไว้ซึ่งบุคคล ด้วยวิธีการข่มขู่ หรือด้วยการใช้กำลัง หรือด้วยการบังคับในรูปแบบอื่นใด ด้วยการลักพาตัว ด้วยการฉ้อโกด้วยการหลอกลวงด้วยการใช้อำนาจที่เหนือกว่ารือด้วยการใช้สถานะความอ่อนแอต่อภัยของบุคคล  หรือมีการให้หรือรับเงินหรือผลประโยชน์อย่างอื่นเพื่อให้ได้ความยินยอมของบุคคลหนึ่งผู้มีอำนาจควบคุมอีกบุคคลหนึ่ง เพื่อความมุ่งประสงค์ในการแสวงหาประโยชน์ การแสวงหาประโยชน์อย่างน้อยที่สุด ให้รวมถึงการแสวงหาประโยชน์จากการค้าประเวณีหรือการแสวงหาประโยชน์ทางเพศในรูปแบบอื่น การบังคับใช้แรงงานหรือบริการ การเอาคนลงเป็นทาสหรือการกระทำอื่นเสมือนการเอาคนลงเป็นทาส การทำให้ตกอยู่ใต้บังคับ หรือการตัดอวัยวะออกจากร่างกาย(ข) ความยินยอมของผู้เสียหายในการค้ามนุษย์ พิธีสารฯ กำหนดให้ความยินยอมของผู้เสียหายในการค้ามนุษย์ ซึ่งหากเป็นการจัดหา การขนส่ง การจัดให้อยู่อาศัย หรือการรับไว้ซึ่งบุคคลด้วยวิธีการข่มขู่ หรือด้วยการใช้กำลัง หรือด้วยการบังคับในรูปแบบอื่นใด ด้วยการลักพาตัว ด้วยการฉ้อโกง ด้วยการหลอกลวง ด้วยการใช้อำนาจที่เหนือกว่ารือด้วยการใช้สถานะความอ่อนแอต่อภัยของบุคคล  หรือมีการให้หรือรับเงินหรือผลประโยชน์อย่างอื่นเพื่อให้ได้ความยินยอมของบุคคลหนึ่งผู้มีอำนาจควบคุมอีกบุคคลหนึ่งไม่เป็นเหตุให้ยกเว้นความผิดฐานการค้ามนุษย์แต่อย่างใด   
       - สาธารณชน         - เด็กที่มีอายุกว่า 15 ปี แต่ไม่เกิน 18 ปี      - เด็กที่มีอายุไม่เกิน 15 ปี    - ตัวสามี หากเป็นการกระทำระหว่างสามีภรรยา ไม่ถือว่าผิดกฎหมาย   - เด็กที่มีอายุไม่เกิน 18 ปี- หญิงที่มีอายุตั้งแต่ 18 ปีขึ้นไป                  - ชาย และหญิง      - บุคคลที่มีอายุเกิน 15 ปี แต่ไม่เกิน 18 ปี    - เด็กอายุไม่เกิน 15 ปี                - ผู้เสียหาย และพยานที่เป็นเด็กอายุไม่เกิน 18 ปี                       - สาธารณชน                        - ผู้เสียหายจากการค้ามนุษย์  
 3.การเปลี่ยนแปลง      สภาพภูมิอากาศ  กฎหมายภายในพระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ.2535

มาตรา 64 ยานพาหนะที่จะนำมาใช้จะต้องไม่ก่อให้เกิดมลพิษเกินกว่ามาตรฐานควบคุมมลพิษจากแหล่งกำเนิด...     

มาตรา 68 เจ้าของหรือผู้ครอบครองแหล่งกำเนิดมลพิษ มีหน้าที่ต้องติดตั้ง หรือจัดให้มีระบบบำบัดอากาศเสีย อุปกรณ์หรือเครื่องมืออื่นใดสำหรับการควบคุม กำจัด ลด หรือขจัดมลพิษซึ่งอาจมีผลกระทบต่อคุณภาพอากาศตามที่เจ้าพนักงานควบคุมมลพิษกำหนด     กฎหมายระหว่างประเทศพิธีสารมอลทริโอลควบคุมปริมาณการนํ าเข้าสารซีเอฟซี (CFC-11,CFC-12,CFC-113,CFC-114 และ CFC-115) ตั้งแต่ปีพ..2542 ไม่ให้เกินระดับค่าเฉลี่ยของปริมาณการใช้ของปี พ.. 2538 – 40 โดย ในปี พ.. 2548 ให้ลดลงร้อยละ 50 ในปี พ.. 2550 ลดลงร้อยละ 85 และ ให้ยกเลิกการนํ าเข้าสารซีเอฟซีภายในสิ้นปีพ.. 2552พิธีสารเกียวโต

ประเทศภาคีในกลุ่ม ภาคผนวกที่ 1 ต้องดำเนินการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกเฉลี่ย 5.2% ของปริมาณการปล่อยในปี ค.. 1990* ในช่วงพันธกรณีแรก(First Commitment คือในระหว่างช่วงปีพ.. 2551- 2555

      - สาธารณชน   - สาธารณชน            - มนุษยชาติ          - มนุษยชาติ   
 4.เกาหลีเหนือกับนโยบายเรื่องอาวุธนิวเคลียร์   กฎหมายภายใน                            พระราชบัญญัติพลังงานปรมาณูเพื่อสันติพ.. ๒๕๐๔มาตรา ๑๒ ห้ามมิให้ผู้ใด() ผลิต มีไว้ในครอบครอง หรือใช้วัสดุนิวเคลียร์พิเศษ พลังงานปรมาณู วัสดุพลอยได้ หรือวัสดุต้นกำลังซึ่งพ้นจากสภาพที่เป็นอยู่ตามธรรมชาติในทางเคมีมาตรา ๑๓ ห้ามมิให้ผู้ใดนำหรือส่งออกนอกราชอาณาจักร นำหรือสั่งเข้ามาในราชอาณาจักรซึ่งวัสดุนิวเคลียร์พิเศษ วัสดุพลอยได้หรือวัสดุต้นกำลัง เว้นแต่จะได้ รับใบอนุญาตจากณะกรรมการ กฎหมายระหว่างประเทศสนธิสัญญาห้ามทดลองอาวุธนิวเคลียร์โดยสมบูรณ์ (Comprehensive Nuclear-Test-Ba Treaty : CTBT)ข้อ 1  พันธกรณีพื้นฐาน
           แต่ละรัฐภาคีรับจะไม่ทดลองการระเบิดของอาวุธนิวเคลียร์ใด หรือการระเบิดนิวเคลียร์อื่นใด และจะห้ามและป้องกันการระเบิดนิวเคลียร์อื่นใด ณ สถานที่ใดภายใต้เขตอำนาจหรือการควบคุมของตนสนธิสัญญาไม่แพร่ขยายอาวุธนิวเคลียร์ (Nuclear Non-Proliferation Treaty : NPT)มาตรา 1 ห้ามรัฐที่ครอบครองอาวุธนิวเคลียร์ (ได้แก่ สหรัฐฯ อังกฤษ รัสเซีย ฝรั่งเศส และจีน) ส่ง หรือช่วยให้ประเทศอื่น ๆ ผลิต หรือครอบครองอาวุธนิวเคลียร์ และห้ามรัฐที่ไม่ได้ครอบครองอาวุธนิวเคลียร์รับ แสวงหา หรือขอความช่วยเหลือในการผลิตอาวุธนิวเคลียร์ และให้รัฐที่ไม่ได้ครอบครอบอาวุธนิวเคลียร์ยอมรับข้อตกลงพิทักษ์ความปลอดภัยว่าจะไม่นำพลังงานนิวเคลียร์ในทางสันติไปดัดแปลงใช้ผลิตอาวุธนิวเคลียร์         
      - สาธารณชน     - สาธารณชน           - รัฐภาคีในสนธิสัญญา- มนุษยชาติ        - รัฐภาคีในสนธิสัญญา- มนุษยชาติ    
 5. FTA – Free trade Agreement  ข้อตกลงการค้าเสรี  กฎมายภายในมาตรา 9 การประดิษฐ์ดังต่อไปนี้ไม่ได้รับความคุ้มครองตามพระราชบัญญัติ
 (1) จุลชีพและส่วนประกอบส่วนใดส่วนหนึ่งของจุลชีพที่มีอยู่ตามธรรมชาติ สัตว์ พืช ห
หมายเลขบันทึก: 79899เขียนเมื่อ 21 กุมภาพันธ์ 2007 16:26 น. ()แก้ไขเมื่อ 21 มิถุนายน 2012 00:53 น. ()สัญญาอนุญาต: จำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท