เข้ากระเป๋าใคร


หน่วยงานของรัฐแห่งนี้ ทำงานเพื่อใคร

นสพ. Bangkok Post ฉบับวันที่ ๑๙ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๒  หน้า B1ลงข่าว 4.1% GDP gain in 2018 (1)   บอกว่าการเติบโตทางเศรษฐกิจสูงที่สุดในช่วง๖ ปี    เป็นข่าวที่นำมาจากข้อแถลงของเลขาธิการสภาพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ   ซึ่งเมื่ออ่านแล้วผมคิดว่าเป็นข้อวิเคราะห์ครึ่งเดียวของหน้าที่ของสศช.   คือด้านเศรษฐกิจ   ไม่แตะด้านสังคมเลย    คือไม่วิเคราะห์ว่าคนในสังคมได้ผลประโยชน์จากการเติบโตทางเศรษฐกิจอย่างเท่าเทียมกันหรือไม่

ซึ่งผมทำนายว่าไม่

ฟังจากชาวบ้านทั่วไปเขาบอกกันว่าเศรษฐกิจไม่ดี   แต่ข้อมูลจีดีพี ว่าดีที่สุดใน ๖ ปี

เป็นข้อมูลให้คิดต่อ   ว่าหน่วยงานของรัฐแห่งนี้ทำงานเพื่อใคร

วิจารณ์ พานิช

๑๙ ก.พ. ๖๒

ห้อง ๒๐๑๕ โรงแรม สยามเบย์วิว, พัทยา


หมายเลขบันทึก: 659995เขียนเมื่อ 19 กุมภาพันธ์ 2019 08:33 น. ()แก้ไขเมื่อ 19 กุมภาพันธ์ 2019 17:43 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลงจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (1)

IF we use only GDP as the measure (bigger/more is better) of economy that what we will see. Buried inside GDP are many things that push up GDP but actually erode the standard of living for examples inflation, road deaths, health care costs, education costs, pollution costs, crimes and addiction costs, and “corruption” (especially in government acquisition and construction “tenders”). If we look into GDP, we can find large percentage of it in certain sectors (certain groups of people) - not ‘proportionally distributed’ among population.

We need savvy people and technocrats to come up with a better measure of economy (in its true meaning –distribution of wealth–).

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท