การจัดทำแผนพัฒนาการจัดการศึกษาตามมาตรฐานการศึกษา ระดับอาชีวศึกษา


การจัดทำแผนพัฒนาการจัดการศึกษาตามมาตรฐานการศึกษา ระดับอาชีวศึกษา

นับเป็นประสบการณ์ใหม่ของมหาวิทยาลัยหลอมรวมที่ยังมีการจัดการศึกษาในระดับอาชีวศึกษา ปวช. ปวส. ดังนั้น การประกันคุณภาพการศึกษาจึงต้องคำนึงถึงการจัดการศึกษา ระดับอาชีวศึกษาอย่างมีคุณภาพด้วย มหาวิทยาลัยได้เชิญวิทยากรจากกรมอาชีวศึกษามาร่วมบรรยายและประชุมเชิงปฏิบัติการ เมื่อวันที่ 30 ตุลาคม 2561 - วันที่ 2 พฤศจิกายน 2561 ดังนี้

เอกสารที่เกี่ยวข้อง

1.กฎกระทรวงการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๑
 
http://www.ratchakitcha.soc.go...

สาระสำคัญ

ข้อ ๓ ให้สถานศึกษาแต่ละแห่งจัดให้มีระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา
โดยการกําหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาให้เป็นไปตามมาตรฐานการศึกษาแต่ละระดับและ
ประเภทการศึกษาที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการประกาศกําหนด พร้อมทั้งจัดทําแผนพัฒนา
การจัดการศึกษาของสถานศึกษาที่มุ่งคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา
และดําเนินการตามแผนที่กําหนดไว้จัดให้มีการประเมินผลและตรวจสอบคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา ติดตามผลการดําเนินการเพื่อพัฒนาสถานศึกษาให้มีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา และจัดส่งรายงานผลการประเมินตนเอง
ให้แก่หน่วยงานต้นสังกัดหรือหน่วยงานที่กํากับดูแลสถานศึกษาเป็นประจําทุกป

2.ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง มาตรฐานการอาชีวศึกษา พ.ศ. 2561
 
http://www.ratchakitcha.soc.go...

สาระสำคัญ
มาตรฐานการอาชีวศึกษา ประกอบด้วย
3 มาตรฐาน 9 ประเด็นการประเมิน ดังนี้
มาตรฐานที่ 1 คุณลักษณะของผู้สำเร็จการศึกษาอาชีวศึกษาที่พึงประสงค์
การจัดการอาชีวศึกษา เป็นการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาผู้ส าเร็จการศึกษา
อาชีวศึกษาให้มีความรู้ มีทักษะและการประยุกต์ใช้เป็นไปตามมาตรฐานคุณวุฒิอาชีวศึกษาแต่ละระดับ
การศึกษา และมีคุณธรรม จริยธรรม และคุณลักษณะที่พึงประสงค์ ประกอบด้วยประเด็นการประเมิน
ดังนี้
๑.๑ ด้านความรู้
ผู้สำเร็จการศึกษาอาชีวศึกษามีความรู้เกี่ยวกับข้อเท็จจริง ตามหลักการ
ทฤษฎี และแนวปฏิบัติต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับสาขาวิชาที่เรียน หรือท างาน โดยเน้นความรู้เชิงทฤษฎี
และหรือข้อเท็จจริง เป็นไปตามมาตรฐานคุณวุฒิอาชีวศึกษาแต่ละระดับการศึกษา
หนา ๔ ้ ่
เลม ๑๓๕ ตอนพิเศษ ๒๒๘ ง ราชกิจจานุเบกษา ๑๘ กันยายน ๒๕๖๑
๑.๒ ด้านทักษะและการประยุกต์ใช้
ผู้ส าเร็จการศึกษาอาชีวศึกษามีทักษะที่จำเป็นในศตวรรษที่ 21 ทักษะวิชาชีพ
และทักษะชีวิตเป็นไปตามมาตรฐานคุณวุฒิอาชีวศึกษาแต่ละระดับการศึกษา สามารถประยุกต์ใช้
ในการปฏิบัติงาน และการดำรงชีวิตอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุขตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
และมีสุขภาวะที่ดี
๑.๓ ด้านคุณธรรม จริยธรรม และคุณลักษณะที่พึงประสงค์
ผู้ส าเร็จการศึกษาอาชีวศึกษามีคุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณวิชาชีพ
เจตคติและกิจนิสัยที่ดี ภูมิใจและรักษาเอกลักษณ์ของชาติไทย เคารพกฎหมาย เคารพสิทธิของผู้อื่น
มีความรับผิดชอบตามบทบาทหน้าที่ของตนเองตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
มีจิตสาธารณะ และมีจิตส านึกรักษ์สิ่งแวดล้อม
มาตรฐานที่
2 การจัดการอาชีวศึกษา
สถ าน ศึ กษ ามี ค รูที่ มี คุณ วุฒิ ก า รศึ กษ าแ ล ะ จ าน วน ต ามเกณ ฑ์ ที่ ก าห น ด
ใช้หลักสูตรฐานสมรรถนะ ในการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นส าคัญ และบริหารจัดการ
ทรัพยากรของสถานศึกษาอย่างมีประสิทธิภาพ มีความส าเร็จในการด าเนินการตามนโยบายส าคัญของ
หน่วยงานต้นสังกัดหรือหน่วยงานที่ก ากับดูแลสถานศึกษา ประกอบด้วยประเด็นการประเมิน ดังนี้
๒.๑ ด้านหลักสูตรอาชีวศึกษา
สถานศึกษาใช้หลักสูตรฐานสมรรถนะที่สอดคล้องกับความต้องการของผู้เรียน
ชุมชน สถานประกอบการ ตลาดแรงงาน มีการปรับปรุงรายวิชาเดิม หรือก าหนดรายวิชาใหม่
หรือกลุ่มวิชาเพิ่มเติม ให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีและความต้องการของตลาดแรงงาน
โดยความร่วมมือกับสถานประกอบการหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
๒.๒ ด้านการจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา
สถานศึกษามีครูที่มีคุณวุฒิการศึกษาและมีจ านวนตามเกณฑ์ที่ก าหนด
ได้รับการพัฒนาอย่างเป็นระบบต่อเนื่อง เพื่อเป็นผู้พร้อมทั้งด้านคุณธรรม จริยธรรมและความเข้มแข็

ทางวิชาการและวิชาชีพ จัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นส าคัญ ตอบสนองความต้องการ
ของผู้เรียนทั้งวัยเรียนและวัยท างานตามหลักสูตร มาตรฐานคุณวุฒิอาชีวศึกษาแต่ละระดับการศึกษา
ตามระเบียบหรือข้อบังคับเกี่ยวกับการจัดการศึกษาและการประเมินผลการเรียนของแต่ละหลักสูตร
ส่งเสริม สนับสนุน ก ากับ ดูแลให้ครูจัดการเรียน การสอนรายวิชาให้ถูกต้อง ครบถ้วน สมบูรณ์
๒.
3 ด้านการบริหารจัดการ
สถานศึกษาบริหารจัดการบุคลากร สภาพแวดล้อม ภูมิทัศน์ อาคารสถานที่
ห้องเรียน ห้องปฏิบัติการ โรงฝึกงาน ศูนย์วิทยบริการ สื่
อ แหล่งเรียนรู้ เทคโนโลยีสารสนเทศ
ครุภัณฑ์ และงบประมาณ ของสถานศึกษาที่มีอยู่อย่างเต็มศักยภาพและมีประสิทธิภาพ
หนา ๕ ้ ่
เลม ๑๓๕ ตอนพิเศษ ๒๒๘ ง ราชกิจจานุเบกษา ๑๘ กันยายน ๒๕๖๑
๒.
4 ด้านการน านโยบายสู่การปฏิบัติ
สถานศึกษามีความส าเร็จในการด าเนินการบริหารจัดการสถานศึกษา
ตามนโยบายส าคัญที่หน่วยงานต้นสังกัดหรือหน่วยงานที่ก ากับดูแลสถานศึกษามอบหมาย โดยความร่วมมือ
ของผู้บริหาร ครู บุคลากรทางการศึกษาและผู้เรียน รวมทั้งการช่วยเหลือ ส่งเสริม สนับสนุนจาก
ผู้ปกครอง ชุมชน สถานประกอบการและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทั้งภาครัฐและภาคเอกชน
มาตรฐานที่
3 การสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้
สถานศึกษาร่วมมือกับบุคคล ชุมชน องค์กรต่าง ๆ เพื่อสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้
มีการจัดท านวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์ งานสร้างสรรค์ งานวิจัย ประกอบด้วยประเด็นการประเมิน ดังนี้
๓.
1 ด้านความร่วมมือในการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้
สถานศึกษามีการสร้างความร่วมมือกับบุคคล ชุมชน องค์กรต่าง ๆ ทั้งในประเทศ
และต่างประเทศในการจัดการศึกษา การจัดทรัพยากรทางการศึกษา กระบวนการเรียนรู้ การบริการ
ทางวิชาการและวิชาชีพ โดยใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม เพื่อพัฒนาผู้เรียนและคนในชุมชนสู่สังคม
แห่งการเรียนรู้
๓.
2 ด้านนวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์ งานสร้างสรรค์ งานวิจัย
สถานศึกษาส่งเสริมสนับสนุนให้มีการจัดท านวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์ งานสร้างสรรค์
งานวิจัย โดยผู้บริหาร ครู บุคลากรทางการศึกษา ผู้เรียน หรือร่วมกับบุคคล ชุมชน องค์กรต่าง ๆ
ที่สามารถน าไปใช้ประโยชน์ได้ตามวัตถุประสงค์ และเผยแพร่สู่สาธารณชน

3.ขั้นตอนการจัดทำแผนพัฒนาการจัดการศึกษาตามมาตรฐานการศึกษา

3.1 ทบทวนมาตรฐานสถานศึกษา กับ แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ใบงานที่ 1

ทบทวนมาตรฐานสถานศึกษา กับ แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

มาตรฐานที่ 1

แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ผู้รับผิดชอบ

หมายเหตุ

ประเด็นประเมินด้านความรู้

ข้อพิจารณาที่ 1


3.2 การวิเคราะห์สภาพแวดล้อม(SWOT) และกำหนดมาตรการ

ประเด็น

จุดแข็ง

จุดอ่อน

ค่าคะแนน

รายละเอียด

ค่าคะแนน

รายละเอียด

ครู(ผู้สอน)

1. ความรู้ความสามารถตามสาขาวิชาที่สอนภาคทฤษฎี

2. ความรู้ความสามารถตามสาขาวิชาที่สอนภาคปฏิบัติ

3. การวิเคราะห์หลักสูตร

4. การเขียนสมรรถนะรายวิชา/รายหน่วย

5. การจัดกิจกรรมการสอนที่หลากหลายที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ

· Active Learning

· STEM

6. การจัดทำ/ใช้สื่อการสอน

7. การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ

8. การวัดและประเมินผลตามสภาพจริง

9. การทำบันทึกหลังสอน

10. การทำวิจัยในชั้นเรียน

11.  จิตวิทยาวัยรุ่น


หมายเลขบันทึก: 657202เขียนเมื่อ 5 พฤศจิกายน 2018 15:56 น. ()แก้ไขเมื่อ 5 พฤศจิกายน 2018 15:56 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลงจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท