The Global Competitiveness Report 2018


อันดับของประเทศไทยโดยรวมแล้วดีขึ้นกว่าปีที่ผ่านมา 2อันดับ และคะแนนในแต่ละด้านดีขึ้นกว่าเดิมเล็กน้อย หากมีแรงหนุนจากสถาบันอุดมศึกษาภายในประเทศมากขึ้น ในบางตัวชี้วัด คะแนนคงจะขยับขึ้นสูงกว่านี้ได้อีก


ผมได้รับ อีเมล์ จาก รศ. ดร. มงคล รายะนาคร ดังต่อไปนี้ 

เมื่อวันที่ 18 ตุลาคม 2561 World Economic Forum (WEF) ที่กรุงเจนีวา ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ ได้เผยแพร่ รายงานความสามารถในการแข่งขันของประเทศต่างๆทั่วโลก ประจำปี ค.ศ. 2018    ที่เรียกว่า The Global Competitiveness Report 2018 ที่      http://reports.weforum.org/global-competitiveness-report-2018/

ในการจัดอันดับความสามารถในการแข่งขันครั้งนี้ WEF ได้จัดอันดับ 140 ประเทศ จากดัชนี 4.0 (Global Competitiveness Index 4.0)   มีผลการจัดอันดับและคะแนน (0-100) ที่น่าสนใจดังต่อไปนี้

World Top 10: 1 United States (85.6), 2 Singapore (83.5), 3 Germany (82.8), 4 Switzerland (82.6), 5 Japan (82.5), 6 Netherlands (82.4), 7 Hong Kong SAR (82.3), 8 United Kingdom (82.0), 9 Sweden (81.7), 10 Denmark (80.6)

Europe Top 10:  3 Germany (82.8), 4 Switzerland (82.6), 6 Netherlands (82.4), 8 United Kingdom (82.0), 9 Sweden (81.7), 10 Denmark (80.6), 11 Finland (80.3), 16 Norway (78.2), 17 France (77.5), 19 Luxembourg (76.6)

Asia Top 10: 2 Singapore (83.5), 5 Japan (82.5), 7 Hong Kong SAR (82.3), 13 Taiwan, China (79.3), 15 Korea, Rep. (78.8), 20 Israel (76.6), 25 Malaysia (74.4), 27 United Arab Emirates (73.4), 28 China (72.6), 30 Qatar (71.0)

ASEAN Countries

ประเทศในภูมิภาคอาเซียน (ASEAN) มีที่ได้รับการจัดอันดับครั้งนี้9 ประเทศ ตามลำดับอันดับและคะแนน เป็นดังนี้

2 Singapore (83.5), 25 Malaysia (74.4), 38 Thailand (67.5), 45 Indonesia (64.9), 56 Philippines (62.1), 62 Brunei Darussalam (61.4), 77 Viet Nam (58.1), 110 Cambodia (50.2) และ 112 Lao PDR (49.3)

เมื่อพิจารณาดูคะแนนตามเสาหลัก (pillar) ของดัชนีทั้ง 12 ด้าน ใน 4 องค์ประกอบ(component) แล้ว ปรากฏผลที่น่าสนใจ ดังต่อไปนี้

Enabling environment component ประกอบด้วย4 Pillars คือ Pillar 1: Institution, Pillar 2: Infrastructure, Pillar 3: ICT adoption และ Pillar 4: Macroeconomic stability

Country

Pillar 1

Pillar 2

Pillar 3

Pillar 4

Singapore

80.7

95.7

85.2

92.6

Malaysia

68.7

77.9

69.1

100

Thailand

55.1

69.7

56.6

89.9

Indonesia

57.9

66.8

61.1

89.7

Philippines

48.3

59.4

54.8

90.0

Brunei Darussalam

58.3

71.3

76.2

73.7

Viet Nam

49.5

65.4

43.3

75.0

Cambodia

41.9

51.7

44.4

74.4

Lao PDR

44.5

57.5

42.7

68.5

Human capital component ประกอบด้วย2 Pillars คือPillar 5: Health และ Pillar 6: Skills

Country

Pillar 5

Pillar 6

Singapore

100

76.0

Malaysia

82.6

74.2

Thailand

87.3

63.0

Indonesia

71.7

64.1

Philippines

67.6

62.9

Brunei Darussalam

85.9

66.0

Viet Nam

81.0

54.3

Cambodia

62.9

41.0

Lao PDR

59.6

49.5

Market component ประกอบด้วย4 Pillars คือPillar 7: Product market, Pillar 8: Labour market, Pillar 9: Financial system และ Pillar 10: Market size

Country

Pillar 7

Pillar 8

Pillar 9

Pillar 10

Singapore

81.2

80.2

89.3

71.1

Malaysia

63.6

70.2

84.1

73.0

Thailand

53.4

63.3

84.2

74.9

Indonesia

58.5

57.8

63.9

81.6

Philippines

56.9

64.5

67.9

70.2

Brunei Darussalam

60.9

64.2

51.2

37.0

Vietnam

52.1

55.6

62.3

70.9

Cambodia

50.0

59.7

53.6

46.2

Lao PDR

53.5

55.4

51.3

41.1

Innovation ecosystem component ประกอบด้วย2 Pillars คือPillar 11: Business dynamism และ Pillar 12: Innovation capability

Country

Pillar 11

Pillar 12

Singapore

74.7

75.0

Malaysia

73.8

55.5

Thailand

71.0

42.1

Indonesia

69.0

37.1

Philippines

65.8

37.2

Brunei Darussalam

58.5

33.9

Viet Nam

53.7

33.4

Cambodia

45.3

31.2

Lao PDR

40.1

27.4

อันดับของประเทศไทยโดยรวมแล้วดีขึ้นกว่าปีที่ผ่านมา 2อันดับ และคะแนนในแต่ละด้านดีขึ้นกว่าเดิมเล็กน้อย หากมีแรงหนุนจากสถาบันอุดมศึกษาภายในประเทศมากขึ้น ในบางตัวชี้วัด คะแนนคงจะขยับขึ้นสูงกว่านี้ได้อีก ทั้งนี้ ผู้ที่สนใจใน methodology ของการจัดอันดับความสามารถในการแข่งขันของประเทศต่างๆตามดัชนี 4.0 สามารถดูรายละเอียดได้ที่

http://reports.weforum.org/global-competitiveness-report-2018/chapter-3-benchmarking-competitiveness-in-the-fourth-industrial-revolution-introducing-the-global-competitiveness-index-4-0/

อนึ่ง ผู้ที่สนใจศึกษารายงาน The Global Competitiveness Report 2018 ทั้งฉบับ (671 หน้า)สามารถ download รายงานดังกล่าวได้ที่

http://www3.weforum.org/docs/GCR2018/05FullReport/TheGlobalCompetitivenessReport2018.pdf

ผมจึงขอส่งอีเมลเรื่องนี้มายังอาจารย์ เพื่อโปรดพิจารณานำลงบล็อกสภามหาวิทยาลัย ตามที่เห็นสมควรต่อไปด้วย จักขอบคุณยิ่ง

มงคล รายะนาคร

22 ตุลาคม 2561

วิจารณ์ พานิช

๒๓ ต.ค. ๖๑

หมายเลขบันทึก: 656237เขียนเมื่อ 23 ตุลาคม 2018 16:34 น. ()แก้ไขเมื่อ 23 ตุลาคม 2018 16:34 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลงจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท