บทความ


การเรียนรู้ที่เข้าสู่  ศตวรรษที่ 21


  การเรียนรู้ที่เข้าสู่ ศตวรรษที่ 21การจัดการเรียนการสอนในศตวรรษที่ 21 เป็นการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน (Problem-BasedLearning และใช้ปัญหาเป็นตัวกระตุ้นให้ผู้เรียนตั้งสมมติฐาน สาเหตุของการเกิดปัญหา รวมถึงการค้นคว้าความรู้พื้นฐานที่เกี่ยวข้องกับปัญหา เพื่อน าไปสู่การแก้ปัญหาต่อไป ผู้เรียนอาจไม่มีความรู้ในเรื่องนั้นๆมาก่อนแต่อาจใช้ความรู้ที่ผู้เรียนมีอยู่เดิมหือเคยเรียนมาแล้ว มุ่งให้ผู้เรียนใฝ่หาความรู้เพื่อแก้ไขปัญหาได้ ได้คิดเป็นท าเป็น มีการตัดสินใจที่ดี และสามารถเรียนรู้การท างานเป็นทีม โดยเน้นผู้เรียนให้เกิดการเรียนรู้ด้วยตนเองสามารถน าทักษะจากการเรียนรู้มาช่วยแก้ปัญหาในชีวิตการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน เป็นการเรียนรู้จากประสบการณ์ เริ่มจากการได้รับประสบการณ์ตรงจากโจทย์ปัญหา ผ่านกระบวนการคิดและการสะท้อนกลับไปสู่ความรู้และความคิดรวบยอด จะน าไปใช้ในสถานการณ์ใหม่ต่อไปการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐานยังเป็นการตอบสนองต่อแนวคิด Constructivism โดยให้ผู้เรียนวิเคราะห์หรือตั้งค าถามจากโจทย์ปัญหาผ่านกระบวนการคิดและสะท้อนกลับ เน้นปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้เรียนในกลุ่มเน้นการเรียนที่มีส่วนร่วม น าไปสู่การค้นคว้าหาค าตอบหรือสร้างความรู้ใหม่ บนฐานความรู้เดิมที่ผู้เรียนมีมาก่อนนี้ 
คำสำคัญ (Tags): #ศตวรรษที่ 21
หมายเลขบันทึก: 646685เขียนเมื่อ 23 เมษายน 2018 19:36 น. ()แก้ไขเมื่อ 29 เมษายน 2018 14:41 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลงจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท