KM ที่ทำสำเร็จเป็นวิธีปฏิบัติแล้ว รอถ่ายทอดลง revise AD Manual


วัตถุประสงค์ของการจัดการความรู้ด้านสนามบิน นั้นเป็นที่ทราบดีแล้วว่าสอดคล้องและเป็นไปตามวัตถุประสงค์ขององค์การการบินพลเรือนหระหว่างประเทศ หรือ ICAO ดังนั้น... ...........องค์กรด้านการบินของไทย จึงได้ตระหนักและ รีบเร่งนำข้อกำหนดที่พึงปฏิบัติมาปรับใช้งาน ให้ทันสถานการณ์ตามยุทธศาสตร์ ที่ได้กำหนดใหทันและเท่าเทียมกันในระหว่างภูมิภาคหรือในภูมิภาคเดียวกัน...

.............Objective วัตถุประสงค์ของการจัดการความรู้ด้านสนามบิน นั้นเป็นที่ทราบดีแล้วว่าสอดคล้องและเป็นไปตามวัตถุประสงค์ขององค์การการบินพลเรือนหระหว่างประเทศ หรือ ICAO ดังนั้น...

...........องค์กรด้านการบินของไทย จึงได้ตระหนักและ รีบเร่งนำข้อกำหนดที่พึงปฏิบัติมาปรับใช้งาน ให้ทันสถานการณ์ตามยุทธศาสตร์ ที่ได้กำหนดใหทันและเท่าเทียมกันในระหว่างภูมิภาคหรือในภูมิภาคเดียวกัน...

...........ก่อให้เกิดเป็นองค์กรที่ประกอบด้วย การทำ MOU การช่วยเหลือด้านต่าง ๆ แบบที่เราเคยได้รับจากอเมริกาในโครงการ USOM มาเป็นการใช้เครื่องมือ ดำเนินการตรวจประเมินด้านความปลอดภัยและเฝ้าตรวจติดตาม การนำข้อกำหนดทุกๆข้อไป(บังคับ)ใช้  ไม่ทำมีผลทางความเสี่ยง และ การเป็นที่ยอมรับ และตรวจติดตาม ระดับความปลอดภัยและมาตรการ  อย่างต่อเนื่อง มีข้อดี ได้แก่ ........ การเพิ่มขั้นตอนการปฏิบัติที่เคยได้ทดลองทำให้เกิดผลลัพธ์ที่ดีมาใช้.....กำกับดูแล...ในขั้นตอนการตรวจออดิตสนามบินของหน่วยงานกำกับ...การมีวิธีปฏิบัติที่ดีในการดำเนินงาน การมีจิตสำนึกความรับผิดชอบในหน้าที่และมีความเข้าใจวิธีการปฏิบัติงานที่รับผิดชอบอย่างถ่องแท้ ของผู้ประกอบการสนามบินในประเทศไทย......

.......จึงกลายมาเป็นเรื่องเล่าจากประสบการณ์ทำงาน ที่สนามบินควรจัดให้มีขึ้นในทุกแห่ง เป็นมาตรฐานวิธีปฏิบัติงานที่ดีรูปแบบเดียวกัน 5 หัวข้อองค์ความรู้ (ตามยุทธศาสตร์ที่ 1 บพ.) มี 5 ด้านดังนี้....

  1. การดำเนินงานสนามบินให้สอดคล้องตามข้อกำหนด ICAO 

 2. กฎระเบียบมาตรฐานความปลอดภัย(สอดคล้องกับ SARPs) 

 3. การให้ความรู้เบื้องต้นด้านการบินพลเรือน (PPL-Ground School ทำสนามบินต้องเป็นนักบินจึงรู้และตระหนักว่านักบินใช้สนามบินอย่างไร) 

 4. หลักเกณฑ์การตรวจสอบสนามบิน (ทำสนามบินต้องทราบถึงรายละเอียดการตรวจ เพื่อให้การตรวจพินิจและการบำรุงรักษาลักษณะคณสมบัติขององค์ประกอบสนามบิน ทำการแก้ไขได้ตรงจุด คุณภาพและความสามารถในการให้บริการโดยมีข้อกำกัด ด้านการปฏิบัติการบินขึ้น-ลงและการขับเคลื่อน บ.ภาคพื้นน้อยสุด)

.....ส่วนการนำ KM มาใช้เมื่อปี 2553 ได้ถ่ายทอดลงสู่ผู้ประกอบการสนามบินและส่วนเกี่ยวข้อง กลุ่มชุมนุมนักปฏิบัติสนามบิน กลุ่มที่ 1  COPs1  ได้แก่ นฟฟ. นยธ. วฟฟ. วยธ. สมส. สพท. นฟฟ. ทย. ผู้สำรวจ ออกแบบ ผู้ร่างTOR ผู้คุมงาน

  • Master Plan - การเพิ่มขั้นตอนการตรวจสอบรับรองแบบแปลนแสดงลักษณะคุณสมบัติและมาตรฐานการติดตั้ง การออกแบบระบบไฟฟ้าสนามบิน และสนามบินเฮลิคอปเตอร์
  • Checking and Monitoring - แชริ่งวิธีการเฝ้าระวังและวิธีการดำเนินการตรวจสอบสิ่งกีดขวางที่มีผลต่อมุมร่อนอากาศยานของระบบไฟนำร่อน PAPI
  • Slope Base of AFL PAPI- การปรับความชันบริเวณฐานคอนกรีตที่ติดตั้งโคมไฟนำร่อน PAPI ให้มีความชันให้ได้มาตรฐานของพื้นที่ปลอดภัยรอบทางวิ่ง(Runway Strips)(กสบ.)
  • Identify Construction Area- การเพิ่มขั้นตอนการทำเครื่องหมาย ไฟ ติดตั้งบอกแนวเขตบริเวณที่ไม่ใช้งานหรือก่อสร้างชั่วคราวและถาวร
  • Checking Procedure- การเพิ่มขั้นตอนการตรวจคุณลักษณะระบบไฟเตือนสิ่งกีดขวางการทาสีทำเครื่องหมายภายในเขตปลอดภัยในการเดินอากาศ
  • Displace Threshold Marking -การทำเครื่องหมายบอกตำแหน่งหัวทางวิ่งที่ถูกเลื่อนไปเนื่องจากการปิดทางวิ่งบางส่วนหรือทั้งหมด
  • การเพิ่มขั้นตอนเทคนิคการบำรุงรักษาเรื่องการทาสีทำเครื่องหมายอย่างยั่งยืน การใช้เครื่องฉีดน้ำแรงดันสูงกำจัดคราบยางบริเวณTouchdownzone Area (TDZ) (RCL , TCL Leadout , Aiming point Marking)
  • Sign Positioning - การเพิ่มขั้นตอนการตรวจคุณลักษณะป้ายสัญลักษณ์ระบบไฟฟ้าสนามบิน ให้ปลอดภัยต่อใบพัดเครื่องบิน
  • Barricade and flag of VTBS ได้แท่ง Barricade ขนาดสูง 20 ซม มาใช้งาน ซึ่งทำให้เกิดความปลอดภัย (หลีกเลี่ยงความเสี่ยง) จากใบพัดเครื่องยนต์ turboprob ตาม ANNEx 14 vol1 ทุกประการ ขอขอบคุณในความตระหนัก นำมาใช้บอกแนวเขตที่ ทสภ. กรณีนี้ครับ Olemu Wittawat Jee Lorrat
  • Sensitive Area and Critical Area - การเพิ่มขั้นตอนการทำเครื่องหมาย Marker หัวทางวิ่งที่กำลังก่อสร้าง บริเวณ Critical Area บริเวณ Road Holding ที่ทำแล้วเสร็จ คือ ทสภ. ทภก. ทหญ. ทชม. ท่าอื่นๆ สามารถนำตัวอย่างที่ดีไปปรับใช้ จัดหาติดตั้งและจัดทำวิธีปฏิบัติ และนำไปใส่เพิ่มใน คู่มือการขับขี่ยานพาหนะในเขตการบิน และ คู่มือการอนุญาตการเข้า-ออกพื้นที่ Critical ans Sensitive Area ของ บวท.(ATC) (เพราะ บวท.โดย ATC เป็นผู้ที่ทราบว่าอากาศยานใดบ้างที่กำลังเข้ามาลง และกำลังใช้สัญญานเครื่องอำนวยความสะดวกในการเดินอากาศ สำหรับบอกแนวกึ่งกลางทางวิ่ง Localizer ที่ ให้บริการ ในระยะ 18-20 Nm.(Usable Distance of Localizer) 
  • Sensitive and critical area Marking , signage and Rubber stick เร่งรัดการจัดทำแนวเขตปกป้อง การรบกวนสัญญาณวิทยุเครื่องช่วยการเดินอากาศ โดยใช้ Youtube เผยแพร่ Bestpractice ของ ทภก. และ ทหญ. (ATC Procedure (AD Manual 4.17)ของ ทภก. จัดทำแล้วเสร็จ) ขอขอบคุณในความตระหนักกรณีนี้ครับ Jee Lorrat (ทชม. กำลังดำเนินการเรื่องคู่มือฯ ส่วนป้ายสัญลักษณ์บอกแนว ได้จัดหาติดตั้งแล้วเสร็จ กพท.ตรวจสอบแล้วเมื่อคราวตรวจติดตาม หลังได้รับใบรับรองการดำเนินงาน เมื่อ 24-27 ก.ค. 2560)
  • Position และ Aircraft movement Area
  • NOTAM AFL Reduce to Non Precision APCH- การเพิ่มขั้นตอนตรวจพินิจในเรื่องการออก NOTAM แจ้งลดระดับการให้บริการระบบไฟฟ้าสนามบินเมื่อผู้ประกอบการสนามบิน (ฝ่ายบำรุงรักษา) ตรวจพบว่า ระดับการให้บริการระบบไฟฟ้าสนามบินให้บริการได้ตำกว่าข้อกำหนด 85%(CAT 1)
  • GLASS , Beam หญ้า สิ่งที่บดบังแนวลำแสง โคมไฟ บังป้าย โดยให้ความสำคัญในลำดับแรก โดยจัดการตัดหญ้าโดยใช้การตัดด้วยมือเก็บงานบริเวณ หน้าป้าย หน้าโคมไฟฟ้าสนามบิน ให้ถี่บ่อยและทำทันที เร่งด่วนกว่าไปตัดบริเวณอื่นๆก่อน (Corrective Maintenance รอไม่ได้)
  • Protect FIRE  การเก็บวัสดุต่างๆทันที หลังตัดหญ้า
  • Protect FOD  การเก็บวัสดุต่างๆทันทีโดยใช้มือและอุปกรณ์ หลังทำความสะอาดโดยใช้รถกวาดดูด (รถกวาดดูดจะผลักสิ่งต่างๆออกไปด้านข้าง ทำให้เกิดสิ่งต่างๆที่กวาดดูดไม่หมด ตกค้างอยู่ข้างๆขอบๆลานจอด ทิ้งไว้นาน โอกาสที่ลมอาจพัดสิ่งต่างๆ เคลื่อนที่กลับเข้ามาในลานจอดเกิดเป็น FOD ได้)
  • การจัดตั้งทีมงานทาสีเร่งด่วน สำหรับ Marking โดยเฉพาะที่สำคัญ ต่อการร่อนและนำร่องภาคพื้น ได้แก่ RCL Marking ส่วนที่เป็น TDZ Area , TCL Marking ส่วนที่เป็น Standard Root TWY , และส่วนที่เป็นจุดอ่อนไหว (HotSpot) เช่น Tow-bar release marking , Highlight Marking ในส่วนของ  A/C parking  , lead-in  line , Stop line , lead out line  ขอบคณ ทุก สนามบินที่ให้ความสำคัญ ในการเพิ่มความชัดเจน Contrast เพราะ ผิวของคอนกรีตบริเวณลานจอด จะเป็นสีขาว ตัดกับเส้นนำเข้าหลุมจอดสีเหลือง ซึ่งได้รับการทาสีด้วยการตัดด้วยสีดำ จึงทำให้เกิดความเด่นชัดจากสีของผิวลานจอดมากขึ้นครับ 
  • สิงหาคม 2560 .....

.........


..... อ่านต่อได้ที่: https://www.gotoknow.org/posts/630493

หมายเลขบันทึก: 632584เขียนเมื่อ 5 สิงหาคม 2017 12:18 น. ()แก้ไขเมื่อ 5 สิงหาคม 2017 16:06 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลงจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท