วิวัฒนาการของดุลยภาพแห่งการเรียนรู้


‎شَهْرُ رَمَضَانَ ٱلَّذِىٓ أُنزِلَ فِيهِ ٱلْقُرْءَانُ هُدًى لِّلنَّاسِ وَبَيِّنَٰتٍ مِّنَ ٱلْهُدَىٰ وَٱلْفُرْقَانِ ۚ فَمَن شَهِدَ مِنكُمُ ٱلشَّهْرَ فَلْيَصُمْهُ ۖ وَمَن كَانَ مَرِيضًا أَوْ عَلَىٰ سَفَرٍ فَعِدَّةٌ مِّنْ أَيَّامٍ أُخَرَ ۗ يُرِيدُ ٱللَّهُ بِكُمُ ٱلْيُسْرَ وَلَا يُرِيدُ بِكُمُ ٱلْعُسْرَ وَلِتُكْمِلُوا۟ ٱلْعِدَّةَ وَلِتُكَبِّرُوا۟ ٱللَّهَ عَلَىٰ مَا هَدَىٰكُمْ وَلَعَلَّكُمْ تَشْكُرُونَ ﴿البقرة:١٨٥﴾؅

وعن أنس رضي الله عنه عن النبى صلى الله عليه وسلم قال‏:‏ “يسروا ولا تعسروا وبشروا ولا تنفروا ‏(‏‏(‏متفق عليه‏)‏‏)‏‏.‏

ท่านรซูล(ศ็อลลัลลอฮุ อะลัยฮิ วะสัลลัม) ได้ส่งตัวแทนของท่านไปยังชนเผ่าอื่น เพื่องานดะวะฮฺ ท่านได้กล่าวแก่ตัวแทน(ศอฮาบัต)ของท่านว่า "จงทำให้ง่าย อย่าให้พวกเขารู้สึกถึงความยากลำบาก..."

หากนำความหมายของ 'อิกเราะ' มาร่วมวิเคราะห์และใคร่ครวญ จะเห็นว่า บริบทของซุนนะฮฺ สนับสนุน 'อิกเราะ' ที่มีความหมายระดับเบื้องต้น ความเป็น recitation เพราะชนเผ่าอื่นนั้นถือว่าใหม่กับอิสลามเวอร์ชั่นสุดท้ายที่ถูกส่งผ่านอัลกุรอานและท่านรซูล (ศ็อลลัลลอฮุ อะลัยฮิ วะสัลลัม)

และ

‎يُرِيدُ ٱللَّهُ بِكُمُ ٱلْيُسْرَ وَلَا يُرِيدُ بِكُمُ ٱلْعُسْرَ

ในบางส่วนของ 2:185 นั้นจะสนับสนุนความเป็น 'อิกเราะ' ในความหมายเชิงลึก คือ Read wRite Research

เพราะไม่ว่าจะเป็นรูปแบบการถือศีลอดที่เปลี่ยนแปลงไปจากเดิมที่ดูแล้วมีความยากกว่ามุสลิมยุคก่อน และอายัตนี้เป็นอายัตมาดานียะฮฺ ซึ่งมุสลิมมีความรู้ความเข้าใจมีองค์ความรู้ จากพัฒนาการของ อิกเราะแบบ recitation มาแล้ว

อัซตัฆฟิรุ้ลลอฮฺ วัลลอฮูอะลัม


หมายเลขบันทึก: 620030เขียนเมื่อ 11 ธันวาคม 2016 04:25 น. ()แก้ไขเมื่อ 16 มกราคม 2017 11:49 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลงจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท