อนัตตาคืออะไรแน่ (ตอน ๑)


สมัยก่อนว่ากันว่า อนัตตาคือความ "ไม่มี" ตัวตน ...ลพ.เงื่อม วัดธารน้ำไหล จ.คนดี น่าเป็นคนแรกที่ปรับมาใช้คำว่า "ไม่ใช่" ตัวตน และ เราน่าจะเป็นคนแรกที่สังเกตได้ถึงความเปลี่ยนนี้ ที่ซึ่งมีนัยสำคัญอย่างมหาศาล .... ฝรั่งเรียกว่า No Self หรือ Not Self คนไทยส่วนใหญ่เป็นพระมหา ๙ ประโยค หรือพระอริยะที่คนนับถือมาก ก็ไม่เข้าใจหรอก ว่าต่างกันอย่างไร

หมายเลขบันทึก: 600141เขียนเมื่อ 29 มกราคม 2016 14:21 น. ()แก้ไขเมื่อ 29 มกราคม 2016 14:22 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลงจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (4)

โอ้ะ..โอ่...ยาก สสสสส์..อ้ะะ..โจทย์นี้..อิอีอึอื...เฮื่อๆๆๆ...

อินท์ โชติรัตนพิทักษ์

ตัวผมไม่ใช่ตัวผม ต้นไม้ไม่ใช่ต้นไม้ ภูเขาไม่ใช่ภูเขา แต่ผู้สังเกตคือตัวผมหรือสิ่งใดกันครับท่านอาจารย์

Let put some answers to this. Otherwise we will forever have only the question. This is my understanding:

Atta = self (oneself, himself, yourself); soul (in a Sanskrit sense); [atthaa = self-interest; อัตถา = เห็น แก่/แต่ ตัว]

anatta = an (not, no/without) negation prefix + atta (as above) = not self, not oneself = noneself; without soul; [my comment: this is not the same 'nothing' (สุญญตา = emptiness -- in material or mental sense)]

From A Pali-English dictionary, we see some differences in Thai and Pali (and Sanskrit) meanings (Thai 'atta' = ตัวตน in the sense Id/Ego and so 'annata' = "ไม่มี" ตัวตน or "ไม่ใช่" ตัวตน or perhaps "ไม่เป็น" ตัวตน).

The concept of 'self' as an entity separate-able from its environment (not self) underlines a subtle meaning of atta and its negation or 'complement' (for those Set Theorists). If we can clearly describe what is 'self', then anything else is 'not self'. Alternatively, we can clearly describe 'not self', then anything else is 'not not-self' (='self'?). Is อัตตะ 'atta' the same as สติ 'sati' or self-awareness or self-consciousness? ...

To cut some tanglements, we can take a meaning of 'atta' as just 'oneself' in a possessive sense. 'Annata' then means 'not self in possessive sense. Here we cover 'กู ตัว(ของ)กู ของกู' and any generalization of กู (myself) to 'มึง ตัว(ของ)มึง ของมึง', 'เขา ตัว(ของ)เขา ของเขา' or 'oneself'; and come to the problem of 'an-' as negation or complement. From a Buddhist point of view, 'detachment' is a principle concept and an aim of practice (nibbaana is complete detachment), buddhist should train to understand 'self' and to become 'undetached' to 'self'. [Somehow this and other stories in the Tipitaka suggest 'focus on self' (not other ir-relevant outside) to lose focus on self'. Maybe because we can know about ourselves better than 'not ourselves'.]

The Buddha asked in a Tipitaka story: 'Monks, are there more leaves in my hand or out of my hand?'

OK. Your turn ;-)

ผมอาจจะได้เขียนไว้แล้วว่า ก่อนพุทธศาสนานั้นมีแนวคิดสุดโต่งอยู่สองคือ อัตตา และ นิรัตตา .(ตัวตน และ ไม่มีตัวตน)..พพจ.มา"เดินสายกลาง" บอกว่า "ไม่ใช่ตัวตน" แต่พระอย่าง วัลโภลา ราหุล ผู้รจนา "What the Buddha taught" อันโด่งดัง ยังแปลว่า No Self เฉยเลย นี่มันนิรัตตาชัดๆ

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท