เรือนจำรัสเซีย (ตอน3) เรือนจำยุคสหพันธรัฐรัสเซีย


เรือนจำรัสเซีย ในยุคสหพันธรัฐรัสเซีย มีอัตราประชากรนักโทษ ประมาณ 1,500,000 คน (ปี 2013) มีโครงสร้างการดำเนินงานด้านต่างๆ ที่สำคัญ เช่น ด้านกฎหมายเรือนจำ ประกอบด้วยประมวลกฎหมายอาญาของสหพันธรัฐรัสเซีย 1997 กฎหมายเรือนจำของรัฐบาลกลาง ฉบับลงวันที่ 21 กรกฎาคม 1993 และคำสั่งประธานาธิบดี เป็นต้น ด้านคณะกรรมการเรือนจำ มี 7 คน ได้รับการแต่งตั้งตามคำแนะนำของนายกรัฐมนตรี โดยความเห็นชอบจากประธานาธิบดีของรัสเซีย ด้านอาณานิคมแรงงาน มี 760 อาณานิคม นักโทษจะต้องมีส่วนร่วมในการทำงาน และผู้ว่าจ้างต้องจ่ายค่าจ้างให้กับอาณานิคมสำหรับไว้เป็นค่าใช้จ่ายในการเลี้ยงดูนักโทษ ด้านทฤษฎีเรือนจำรัสเซียร่วมสมัย เป้าหมายของการจำคุกได้เปลี่ยนแปลงไปจากอุดมการณ์ มาร์กซ์ – เลนิน ที่เห็นนักโทษเป็นความผิดปรกติทางสังคม ที่มีการบังคับใช้แรงงานฟรี แรงงานทาส และปฏิบัติต่อนักโทษอย่างเหี้ยมโหด เปลี่ยนไปเป็นการบังคับใช้แรงงานนักโทษตามข้อกำหนดมาตรฐานขั้นต่ำในการปฏิบัตินักโทษเรือนจำรัสเซีย ค.ศ. 1879 เน้นแนวคิดในการแก้ไขฟื้นฟู ลดการกระทำความผิดซ้ำ เพื่อให้นักโทษ มีความรู้ ทักษะ อาชีพ ติดตัวไปประกอบอาชีพเลี้ยงตัวเองภายหลังพ้นโทษ และ เพื่อความปลอดภัยของสังคม ......................................
คำสำคัญ (Tags): #กฎหมายเรือนจำรัสเซีย#อาณานิคมแรงงาน#อาณานิคมการศึกษา#กฎหมายเรือนจำ#กรมเรือนจำบริการแห่งชาติ#คณะกรรมการเรือนจำ#ประมวลกฎหมายอาญาสหพันธรัฐรัสเซีย 1997#กฎหมายเรือนจำรัฐบาลกลางสหพันธรัฐรัสเซีย 1993#หลักเกณฑ์การทำงานของนักโทษในเรือนจำ#การแก้ไขฟื้นฟูไม่ควรมีวัตถุประสงค์ เพื่อการสร้างกำไรจากแรงงานนักโทษ#การให้นักโทษทำงานจะต้องเป็นไปตามหลักการของกฎหมาย คำนึงถึงหลักมนุษยธรรม และเคารพสิทธิมนุษยชน#การปฏิบัติต่อนักโทษจะต้องดำเนินงานภายใต้กรอบแนวคิดตามกฎหมายรัฐธรรมนูญแห่งสหพันธรัฐรัสเซีย#ค่ายกักกันแรงงาน#สถาบันแก้ไขฟื้นฟูเด็กและเยาวชน#หน่วยงานวิจัยและพัฒนา#ออกแบบก่อสร้าง#สถาบันการแพทย์#คำสั่งประธานาธิบดี#การบังคับโทษจำคุก#คณะกรรมการเรือนจำรัสเซีย มี 7 คน ได้รับการแต่งตั้งตามคำแนะนำของนายกรัฐมนตรี โดยความเห็นชอบจากประธานาธิบดีของรัสเซีย#คณะกรรมการเรือน มีหน้าที่ให้การสนับสนุนดูแลความปลอดภัย สุขภาพอนามัย ความสะอาด การประหยัดพลังงาน และการให้คำปรึกษาทางจิตวิทยา#แนวคิดป้องกันการกระทำความผิดซ้ำ และ การคืนคนดีสู่สังคม#นักโทษจะต้องมีส่วนร่วมในการทำงานในอาณานิคม ซึ่งอยู่ในรูปแบบของกลุ่มงานการผลิตในเขตอาณานิคม และกำหนดให้ผู้ว่าจ้างต้องจ่ายค่าจ้างให้กับอาณานิคมสำหรับไว้เป็นค่าใช้จ่ายในการเลี้ยงดูนักโทษ#แนวคิดในการให้นักโทษจ่ายค่าอาหารในเรือนจำ#อาณานิคมแรงงาน ที่ 12 (สตรี) เส้ยโจน คับบารัทส์ รัสเซีย#การเย็บเสื้อผ้าที่สถานดัดสันดาน มอร์โดเวีย รัสเซีย 2012#ทฤษฎีเรือนจำรัสเซียร่วมสมัย#ทฤษฎีบังคับใช้แรงงานนักโทษร่วมสมัย#มาร์กซ์ – เลนิน เห็นว่านักโทษเป็นความผิดปรกติทางสังคม#การบังคับใช้แรงงานฟรี แรงงานทาส และปฏิบัติต่อนักโทษอย่างเหี้ยมโหด#แนวคิดการปฏิรูปเรือนจำตามข้อกำหนดมาตรฐานขั้นต่ำในการปฏิบัตินักโทษเรือนจำรัสเซีย ค.ศ. 1879 (ระบบอารยะ)#แนวคิดในการแก้ไขฟื้นฟู#แนวคิดในการลดการกระทำความผิดซ้ำ#ทฤษฎ๊การลงโทษเพื่อการแก้แค้นทดแทน#มาตรฐานขั้นต่ำในการปฏิบัตินักโทษ ค.ศ. 1955
หมายเลขบันทึก: 589073เขียนเมื่อ 19 เมษายน 2015 06:20 น. ()แก้ไขเมื่อ 23 พฤษภาคม 2015 22:38 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลงจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (1)
อนุญาตให้แสดงความเห็นได้เฉพาะสมาชิก
พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท