Herb vs Gas: A lesson on Thailand's Hidden Systems


Herb vs Gas: A lesson on Thailand's Hidden Systems

[I am learning to post in Gotoknow again because a change somewhere has wrecked my 'ususal' way of doing things on G2K. I suspect that a HTML meta tag content-language (with language=th) and Firefox Content configuration are no longer working together. (If I allow G2K pages to choose their own fonts - I get to see only Thai alphabet <no English on display or textbox> and all G2K's icons; but if I don't allow G2K pages to use their own fonts - I get to see and input multilingual content <but no G2k's icons>. Sigh! Life is never a bore!]

I read with interests news (below) and I recalled a story of a land deal by a Buddhist Wat some years ago where the deal was ruled invalid but the Wat lost the money (collected from public donation). This time the story involves a provincial hospital health outlet and an big national oil company (who also deal in Coal Seam Gas or CSG - known to be extracted by 'fracking' (breaking underground rock layers and filling the fractures with lots of toxic chemicals to force the gas out. Fracking causes underground water comtamination which leaks out especially in floods.) Sodium Bentonite (clay) is usually used to seal and stop leaks from cracks. But the the process is just 'patching' (not fixing or repairing), the land after fracking and comtamination is never as good as before. We only have to search the Internet with "land comtamination CSG fracking" to see thousands of examples over the world. And most farmers would say nothing would grow where bentonite is.

Please read the news below and make up your own mind. How reliable is Thailand's Land Use registration and information?

Remember, we are here on this Earth for a short while. How much we can damage our home (for money) is another question.


ลำดับเหตุการณ์เหตุโคลนทะลักสวนสมุนไพร ฉบับอภัยภูเบศร
เขียนวันที่ วันเสาร์ ที่ 31 มกราคม 2558 เวลา 17:28 น.
เขียนโดย thaireform
หมวดหมู่ Thaireform | หลากมิติ | ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
Tags อภัยภูเบศร | โคลนเทียม
http://www.isranews.org/thaireform-other-news/item...

โรงพยาบาลเจ้าพระยาอภัยภูเบศร - วิกิพีเดีย
th.wikipedia.org/.../โรงพยาบาลเจ้าพระยาอภัยภูเบศร
โรงพยาบาลเจ้าพระยาอภัยภูเบศร ในพระอุปถัมภ์ สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี เป็นโรงพยาบาลศูนย์ประจำจังหวัดปราจีนบุรี .


ศูนย์สารสนเทศสมุนไพร | สมุนไพรอภัยภูเบศร
www.abhaiherb.com › ... › บริการ
...สถานที่สำหรับเข้าเยี่ยมชม ของโรงพยาบาลเจ้าพระยาอภัยภูเบศร. ลำดับที่ 1 ตึกเจ้าพระยาอภัยภูเบศรและสวนสมุนไพร...


คำสำคัญ (Tags): #herb#gas#land use systems
หมายเลขบันทึก: 584934เขียนเมื่อ 2 กุมภาพันธ์ 2015 05:16 น. ()แก้ไขเมื่อ 3 กุมภาพันธ์ 2015 18:06 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลงจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (9)

Herb vs Gas: A lesson on Thailand's Hidden Systems ...

ขอบคุณค่ะ

Thanks Dr. Ple and Best wishes for the new year (a bit late ;-).

I wish I had done a better write up on this issue but problems with multilingual web page took more time than I could afford.

I like to add a link below -- to show what "gas" can do to our daily life.

รถร่วมขอ3บ.-แท็กซี่13% ขู่ไม่ปรับจะไม่รับผู้โดยสาร Wednesday, 4 February, 2015
http://www.thaipost.net/news/040215/102561
...ผู้ประกอบการรถร่วมบุกคมนาคม ยื่นหนังสือขีดเส้นขอปรับขึ้น 3 บาทใน 1 สัปดาห์ อ้างสะท้อนต้นทุนเอ็นจีวีที่เพิ่มขึ้น ขู่สัปดาห์หน้าไม่ได้คำตอบจะทยอยหยุดวิ่งเพราะไม่มีเงินเติมแก๊ส ด้านแท็กซี่เอาด้วย หากไม่ให้ขึ้นค่าโดยสารรอบ 2 ที่ 13% อาจเห็นปฏิเสธผู้โดยสารเพิ่ม ขณะที่ผู้ประกอบการรถบรรทุกบุกกระทรวงพลังงาน จี้ "ณรงค์ชัย" ยุติการขึ้นราคาเอ็นจีวีไว้แค่ 13 บาท/กก...

More to "Herb vs Gas":

ชาวบ้านปราจีนบุรีร้อง 'นพ.นิรันดร์' สอบ ปตท.ขุดเจาะก๊าซฯ กระทบสิทธิใช้ที่ดิน
เขียนวันที่ วันเสาร์ ที่ 07 กุมภาพันธ์ 2558 เวลา 14:05 น.
เขียนโดย isranews
http://www.isranews.org/thaireform/thaireform-news...
...ชาวบ้านปราจีนบุรี ยื่นหนังสือกรรมการสิทธิฯ เรียกร้องตรวจสอบขุดเจาะท่อก๊าซฯ ปตท. ระบุได้รับค่าชดเชยไม่เป็นธรรม หน้าดินหาย เสื่อมโทรม ปลาตาย สร้างปัญหาการใช้ที่ดินชุมชน...

Thanks วอญ่า-ผู้เฒ่า-natachoei-- for dropping in.

What is that 'herb' in the first picture? Is it a 'pine' tree?

I can see ยายธี and a หนุ่มเมืิองเพชร(?) talking while looking away from a big fish pond. What are the 'white' patches on the bank (behind ยายธี)? Broken down (degradable) poly(plastic) bags? If that what they are I wonder how much plastic is in the fish in the pond (on the market. in our -human- food chain)?

Another inside info on Gas
ปตท.มึนเมียนมาร์ขอลดส่งก๊าซ อ้างแหล่งเยตากุนวิกฤติ เตรียมคลังลอยน้ำทดแทน
http://www.thaipost.net/news/120215/102900
Thursday, 12 February, 2015
... "ในเบื้องต้น ปตท.จะเจรจาขอให้ทางเมียนมาร์รับก๊าซจากแหล่งยาดานาส่วนที่เหลือไป และเพิ่มปริมาณก๊าซจากแหล่งซอติก้าเข้ามาแทน ทำให้ปริมาณก๊าซที่ส่งมาจากเมียนมาร์ไม่ลดลงไปมาก ซึ่งปัจจุบันตามสัญญา ปตท.ซื้อก๊าซจากแหล่งยาดานาในปริมาณ 560 ล้านลูกบาศก์ฟุตต่อวัน จากเยตากุน 400 ล้านลูกบาศก์ฟุตต่อวัน และจากแหล่งซอติก้า 240 ล้านลูกบาศก์ฟุตต่อวัน รวม 1,200 ล้านลูกบาศก์ฟุต แต่ที่รับก๊าซจริงน้อยกว่าสัญญา จากปัญหาของแหล่งเยตากุน"...
...ปี 2558 คาดว่าประเทศไทยจะมีความต้องการใช้ก๊าซธรรมชาติอยู่ที่ประมาณ 4,800-4,900 ล้านลูกบาศก์ฟุตต่อวัน ซึ่งไม่ได้ขยายตัวมากนัก จากที่เคยใช้สูงสุดถึงประมาณ 5,100 ล้านลูกบาศก์ฟุตต่อวัน ซึ่งเป็นผลมาจากเศรษฐกิจที่ชะลอตัว...

หวั่นขัดแย้งบานปลาย กสม.ขอปตท.หยุดขุดวางท่อก๊าซชั่วคราว
http://www.isranews.org/thaireform-other-news/item/36595-ptt_36595.html
เขียนวันที่ วันอังคาร ที่ 17 กุมภาพันธ์ 2558 เวลา 20:26 น. เขียนโดย thaireform

หวั่นบานปลายเหตุโคลนเทียมผุดหลังปตท.เจาะวางท่อก๊าซ กรรมการสิทธิมนุษยชนชี้ปตท.ต้องหยุดดำเนินการชั่วคราว จนกว่าจะเจรจาแล้วเสร็จ ย้ำไม่มีการแก้ปัญหาใดแก้ได้บนความขัดแย้ง ...สืบเนื่องจากชาวจังหวัดปราจีนบุรีและพระนครศรีอยุธยารวมตัวกันร้องต่อคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ (กสม.) ขอความเป็นธรรมกรณีการขุดเจาะวางท่อก๊าซของ บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน) ทางคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ (กสม.) จึงเชิญทุกหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง คือ ปตท. กัลฟ์ และผู้เสียหาย เข้ามาทำการชี้แจงรายละเอียด..."และขอบคุณที่ปตท.เปิดการเจรจากับชาวบ้านเพราะนี่เป็นวิธีการที่ถูกต้อง การทำอะไรแล้วมีความขัดแย้งหวังจะเอาชนะอย่างเดียวไม่มีทางสำเร็จในบ้านนี้เมืองนี้" ... และฝากคำถามที่ปตท.ต้องเอามาตอบ คือ โครงการต่างๆไม่ว่าจะของรัฐหรือเอกชนจะต้องมีการศึกษาผลกระทบทางด้านสิ่งแวดล้อมสุขภาพก่อนที่จะมีการดำเนินโครงการ หากผลการศึกษาดังกล่าวที่ปตท.เคยศึกษาไปแล้วตอบไม่ได้ว่าโครงการนี้หากผ่านในพื้นที่ของชาวบ้านจะสร้างผลกระทบอย่างไร ส่งผลต่อการทำมาหากิน ความเป็นอยู่ หรือทรัพยากรอะไรบ้าง เพื่อที่ชาวบ้านจะได้รู้ว่าจะมีอะไรเกิดขึ้น หากการศึกษาดังกล่าวบอกรายละเอียดแต่ผิดข้อมูล หรือบอกข้อมูลไม่ครบถ้วน นั่นถือว่าผลการศึกษาดังกล่าวใช้ไม่ได้ และที่สำคัญคืออาจจะต้องตั้งคณะกรรมการเข้าไปดูแลค่าชดเชยและฟื้นฟูพื้นที่ให้กับชาวบ้านด้วย...

[Another side of the same issue/"coin" to assess the balance sheet ;-) ]

http://dailynews.co.th/Content/Article/302408/_ตันละล้าน!!_ก็ยังมี!!+ของดีของไทย+_สมุนไพร_ช่วยชาติได้ วันศุกร์ 20 กุมภาพันธ์ 2558 เวลา 02:00 น.
...เมื่อต้นเดือน ก.พ. ที่ผ่านมา มหกรรมการแพทย์แผนไทยแห่งชาติ ประจำปี 2558 นี้ เพิ่งเปิดตัวครั้งแรกที่มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี จ.อุบลราชธานี ในชื่องาน "ดิน น้ำ ลม ไฟ มหกรรมแพทย์แผนไทยเขตสุขภาพที่ 10"...

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท