การคิดเชิงระบบ การคิดแบบบูรณาการ การคิดสร้างสรรค์เพื่อการวิเคราะห์นโยบายและแผนอย่างมีประสิทธิภาพ ของ สำนักวิเคราะห์นโยบายและแผนอย่างมีประสิทธิภาพ กทม.


สวัสดีครันบชาว blog และลูกศิษย์ทุกท่าน

          วันนี้ผมได้รับเกียรติจาก สำนักวิเคราะห์นโยบายและแผนอย่างมีประสิทธิภาพ กทม. มาบรรยายและทำ workshop เรื่อง "การคิดเชิงระบบ การคิดแบบบูรณาการ การคิดสร้างสรรค์เพื่อการวิเคราะห์นโยบายและแผนอย่างมีประสิทธิภาพ" ให้กับกลุ่มเจ้าหน้าที่สำนักนโยบายและแผน ระดับ C5-C8 ประมาณ 80 คน ซึ่งครั้งนี้เป็นครั้งที่ 2 แล้วครับ ผมจึงนำภาพบรรยากาศเเละสรุปการบรรยายเเละ workshop มาให้ติดตามกันครับ

                                                                                                        จีระ หงส์ลารมภ์




































'

'






หมายเลขบันทึก: 544662เขียนเมื่อ 5 สิงหาคม 2013 09:20 น. ()แก้ไขเมื่อ 5 สิงหาคม 2013 11:40 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลงจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (4)

Three areas are connected to knowledge ,what we known  is value individual,what our organization known is value added organization,and  those are not enough but also learn more for getting value diversity by comparing in -out  to find new knowledge and get thing done find innovation from creativity.

สรุปการบรรยาย

คุณพิชญ์ภูรี

  • เรื่องวิธีการเรียนรู้ Learning how to learn ต้องเอาความรู้ใส่ในเรียนรู้ แล้วเอาออกมาเป็นทรัพย์สินทางปัญหาของตนเอง  
  • โลกเปลี่ยนอย่างต่อเนื่อง เรื่องอาเซียนมีอย่างที่ 3 แท่ง การเมืองความมั่นคง เศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรมที่
  • กทม. มีมาก แต่เรื่องเศรษฐกิจที่ทำแล้วแต่วิธีการที่ทำอยู่ยังไม่ถูกต้องยกตัวอย่างเรื่อง กทม. เมืองหนังสือโลกที่ไม่ประสบความสำเร็จ การทำอะไรต้องให้เชื่อมโยงกับ 3 เสา การเมืองความมั่นคง เศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม
  • Stakeholder คือคนที่เราจะต้องยึดโยงในการทำงาน ประชาชน นักการเมืองและคนที่ทำงานร่วมกัน
  • การเรียนในวันนี้จะคิดนอกกรอบอย่างไร เพื่อให้เกิดความคิดสร้างสรรค์ อย่าลืมเรื่อง Learning to Share Care เพื่อเปิดโอกาสให้เปิดโอกาสให้เกิดการเรียนรู้ซึ่งกันและกัน เพื่อให้เกิดสิ่งใหม่ร่วมกัน

 

อ.จีระ :

วันนี้โจทย์ มีอีก 3 เรื่อง

  1. System thinking
  2. Integrative thinking
  3. Creativity

System thinking

1.       คิดให้เป็นระบบ มีเหตุผล ค่อนข้างจะเป็นวิทยาศาสตร์  ในโลกจะมีตัวแปรอิสระ และตัวแปรตาม ตัวแปรอิสระจะกำหนดตัวแปรตาม  เรารู้ว่าเหตุคืออะไร และผลคืออะไร เราจะรู้สาเหตุมัน การที่เราขาด เรื่อง System Think เพราะอ่อนเรื่องคณิตศาสตร์ ที่เป็นการคิดที่มีตุและผล

2.       อะไรเกิดก่อน และไปกระทบต่ออะไร

3.       ถ้าในสถิติ คือ คนหาปัจจัยที่เป็นตัวแปรอิสระกระทบต่อตัวแปรตาม เช่น ราคาน้ำมันแพง บริโภคน้อยลง

  1. สังคมไทยอ่อนอย่างนี้ เพราะไม่ชอบเลข ไม่ชอบวิทยาศาสตร์  จึงมองอะไรแบบไม่มีระบบ (แบบดาวกระจาย พึ่งไสยศาสตร์) เช่นเรื่องทางการแพทย์สูบบุหรี่เยอะต้องสุขภาพไม่ดีแน่นอน แต่ปัจจุบันเรามองแต่ในข้อดี

System Think ของผม คือ ต้องมีสุขภาพดี แต่ถ้าเมื่อคืนเรากินเหล้าแล้วมาสอนมันจะสอนได้หรือเปล่า

การหาความรู้ทุกวัน  การที่นำเสนออะไรต้องได้รับการยอมรับจาก Stakeholder คือต้องอ่านหนังสือและฝึกอย่างต่อเนื่อง

พื้นฐานวันนี้ต้องเอา Basics มาให้ดูสำรวจตัวเองว่า อ่อนเพราะอะไร มีตัวอย่าง 3 เรื่องที่สำคัญ System Thinking เป็นเรื่องของสมองข้างซ้าย ความคิดสร้างสรรค์เป็นเรื่องของสมองข้างขวา แต่ถ้าเราจะเน้นเรื่องความคิดสร้างสรรค์ พื้นฐานไม่แน่น การทำให้ความคิดสร้างสรรค์ไม่มีคุณภาพ ต่อยอดไม่ได้

1)    เช่นวันนี้ เราจะเน้นความคิดสร้างสรรค์ ต้องมี System thinking ก่อน  คือ ถ้า 1+1 =2 ไม่มี 1+1 =8,-8 ก็จะไม่เกิด

2)    เศรษฐกิจพอเพียง  พระเจ้าอยู่หัวคิดเป็นระบบก่อนจะบริหาร  เน้นสายกลาง เน้นเรื่องการมีเหตุมีผล เรื่องเดียวกับ system think เพื่อมุ่งไปสู่ความยั่งยืน

3)    Peter Senge กล่าวว่า  มีวัฒนธรรมการเรียนรู้ได้ ก็ต้องมีความคิดเป็นระบบ

Personal Mastery รู้อะไร รู้ให้จริง

Mental Models     มีแบบอย่างทางความคิด

Shared Vision      มีเป้าหมายร่วมกัน

Team Learning    เรียนรู้เป็นทีมช่วยเหลือกัน

System Thinking มีระบบการคิดมีเหตุมีผล

 

ส่วนเรื่องบูรณาการ สำคัญมากในประเทศไทยต้องเข้าใจอย่างถ่องแท้ ตัวอย่าง คือ Edwards De Bono  กล่าวว่ามีวิธีคิดหลายอย่าง เช่น

-                     คิดบวก

-                     คิดลบ

-                     คิดสร้างสรรค์

-                     คิดใช้ข้อมูล

-                     ไม่ชอบคิด

แต่ถ้าเป็นบูรณาการเราต้องมีมุมมองหลายๆอย่าง เช่นการที่เราอยู่ในห้องประชุมเราฟังแต่เรื่องทีสนับสนุนไม่มีมุมมองที่แต่ต่าง ยังไม่ใช่เป็นการบูรณาการ หรือเป็นการที่เราจะแยกกันคิดก็ได้ไม่จำเป็นต้องบูรณาการทุกครั้ง แต่เน้นความรอบครอบศึกษาทุกเรื่อง เพื่อให้เกิดความชัดเจน ต้องอดทนในการบูรณาการ

  • ประเด็นก็คือ บางครั้งแยกกันคิดก็ได้ แต่ในบางโอกาสต้องใช้ทุกวิธีมาปฏิบัติ
  • ตัวผมเน้นข้ามศาสตร์ หรือ คิดแบบแนวนอน Horizontal เช่น วิทยาศาสตร์กับสังคมศาสตร์
  • ส่วนที 2 การเรียนต่อไป การดำรงชีวิตต้องข้ามศาสตร์ ในสังคมศาสตร์ก็มีหลายศาสตร์  เช่นในองค์กรขงองเรา กฎหมายกับบัญชี หรือกฎหมายกับเศรษฐศาสตร์ หรือ เศรษฐศาสตร์กับบัญชีสังคมไทยเป็นสังคมที่ชื่นชมคนลงลึก แต่เราต้องลึกและกว้าว พร้อมกัน เป็นแบบตัว T เราต้องมีแก่นก่อนและกระจาย
  • สุดท้าย ต้องมองตัวละครที่เกี่ยวข้องกับกทม. เช่น นักธุรกิจ นักวิชาการ นักการเมือง  ข้าราชการนอกกทม. และ NGO นำเอาความต้องการมาวิเคราะห์ร่วมกัน
  • Blue Ocean Strategy กล่าวว่าเรื่องความคิดสร้างสรรค์ที่สำคัญคือ ทุนมนุษย์
  • Innovation จำเป็นเพราะเป็นยุคที่จะต้องทำงานใหม่ ๆ  innovationคือ

 

 

 

 

 

                     มี Ideas ใหม่ หรือ Creativity และบวกกับความรู้

                    2) Turn ideas to action

                    3) ทำให้สำเร็จ

                       HR for Innovation ในองค์กรอาจจะมองได้ 4 เรื่อง คือ

  1.        Product ใหม่ ๆ
  2.        การให้บริการ (Service) ใหม่ ๆ
  3.        การบริหารจัดการแบบใหม่ (Branding หรือ Process Management)
  4.         นวัตกรรมทางสังคม (Social Innovation) เช่น ชุมชน การศึกษา เรื่องสิ่งแวดล้อม

 

การที่มีความคิดสร้างสรรค์ ยกตัวอย่าง การอ่านหนังสือดี ๆทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ใช้ Internet,Social work การพูดคุยกับคนเก่ง ปะทะกับคนเก่ง

จุดอ่อนของเรา ก็คือ
(1) เรายังไม่ได้สร้างบรรยากาศในการ Share ความรู้ร่วมกันในองค์กร เพื่อให้เกิดวัฒนธรรมการเรียนรู้ ต้องสร้างบรรยากาศให้คนเกิดการเรียนรู้ โดยมีประธานสามารถรับฟังได้ เพื่อเด็กรุ่นใหม่ไม่มีกาลเทศะ แต่ต้องเปิดโอกาสให้พูดเพื่อเป็นการฝึก ไม่ต้องถาม Creativity คืออะไร แต่ต้องถามว่าเราต้องทำอย่างไร และต้องให้เกิดการมีส่วนร่วม ให้มีทั้งแนวทั้งและแนวนอน

(2) การบริหารส่วนใหญ่ยังเป็นแบบ Top down อยู่ ซึ่งจะเน้น Command and Control หรือเป็นการทำงานแบบแนวดิ่ง Vertical *Power มีไว้สำหรับ Participate ในทุกระดับในอนาคตเราน่าจะมีเรื่องการมีส่วนร่วมมากขึ้น กทม. มีคนมีความสามารถแต่เรื่องระบบบริหารจัดการทำให้ block ความคิด เราต้องเปิดโอกาสให้คนในออกความเห็น

(3) ส่วนใหญ่ทำงานเยอะ working แต่ Think Strategies (คิดเป็นยุทธศาสตร์ไม่มาก)เราต้องคิดพร้อมกับทำ สิ่งเหล่านี้ต้องใช้เวลา และสร้างวัฒนธรรม

4) การทำงานเป็นทีมมีแต่ในระดับ function ได้ดีแต่ไม่ Cross function    ทุนที่สำคัญ ก็คือ Social Capital มีในระดับหนึ่ง แต่ควรสร้าง ให้ Network กว้างขึ้น

(5) ทฤษฎี Innovation บอกว่า เราต้องใช้ Outsourcing ให้เกิดปัญญายกกำลัง + +

Action Plan ต้องเน้น..

- Project Proposal- Project Approval

- และต้องเน้น Execution และ GTD (Get thing Done) โดยเฉพาะการเขียน Project และอนุมัติ Project

เมื่อมี Project และต้องบริหาร Project ให้ได้ เอาชนะอุปสรรค ไปสู่ความสำเร็จ

ได้เงิน /ได้หน้า /ได้ความสุข -บางครั้งวัดเป็นเงินได้ บางครั้งวัดไม่ได้เรียกว่า Intangible แต่องค์กรยั่งยืน บุคลากรในองค์กรมีความรู้)

เราจะประสบความสำเร็จเรื่อง Creativity และ Innovation

1.       อดทน

2.       พร้อมที่จะล้มเหลวและผิดหวัง

3.       หาความรู้หลาย ๆ ศาสตร์และสด

4.       ค่อย ๆ ทำเป็น Step อย่ารีบร้อน

5.       สร้าง Innovation Culture ในองค์กร

พิชญ์ภูรีย์ :

·         เรื่องวัฒนธรรมการเรียนรู้ บางเรื่องเป็นความรู้เก่า แต่บางเรื่องสด

·         ต้องขอชมฝ่ายการฝึกอบรม เขามองภาพที่เป็นเรื่องจำเป็น คือการเอาความคิดสร้างสรรค์มาต่อยอดในสิ่งทีเรามี

·         โจทย์ที่ กทม. ตั้งไว้เป็นลำดับขั้นตอน เรื่องการคิดเป็นระบบอะไรเกิดก่อนเกิดหลัง การลองทำยกตัวอย่างค่าแรงสูงคนเข้ามาน้อยลง แต่เราต้องมองเรื่องอื่นเช่นเรื่องการทำความสะอาด กทม.

สรุปการบรรยาย

คุณพิชญ์ภูรี 

  • เรื่องวิธีการเรียนรู้ Learning how to learn ต้องเอาความรู้ใส่ในเรียนรู้ แล้วเอาออกมาเป็นทรัพย์สินทางปัญหาของตนเอง  
  • โลกเปลี่ยนอย่างต่อเนื่อง เรื่องอาเซียนมีอย่างที่ 3 แท่ง การเมืองความมั่นคง เศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรมที่
  • กทม. มีมาก แต่เรื่องเศรษฐกิจที่ทำแล้วแต่วิธีการที่ทำอยู่ยังไม่ถูกต้องยกตัวอย่างเรื่อง กทม. เมืองหนังสือโลกที่ไม่ประสบความสำเร็จ การทำอะไรต้องให้เชื่อมโยงกับ เสา การเมืองความมั่นคง เศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม
  • Stakeholder คือคนที่เราจะต้องยึดโยงในการทำงาน ประชาชน นักการเมืองและคนที่ทำงานร่วมกัน
  • การเรียนในวันนี้จะคิดนอกกรอบอย่างไร เพื่อให้เกิดความคิดสร้างสรรค์ อย่าลืมเรื่อง Learning to Share Care เพื่อเปิดโอกาสให้เปิดโอกาสให้เกิดการเรียนรู้ซึ่งกันและกัน เพื่อให้เกิดสิ่งใหม่ร่วมกัน

 

อ.จีระ :

วันนี้โจทย์ มีอีก เรื่อง

  1. System thinking
  2. Integrative thinking
  3. Creativity

System thinking

1.       คิดให้เป็นระบบ มีเหตุผล ค่อนข้างจะเป็นวิทยาศาสตร์  ในโลกจะมีตัวแปรอิสระ และตัวแปรตาม ตัวแปรอิสระจะกำหนดตัวแปรตาม  เรารู้ว่าเหตุคืออะไร และผลคืออะไร เราจะรู้สาเหตุมัน การที่เราขาด เรื่อง System Think เพราะอ่อนเรื่องคณิตศาสตร์ ที่เป็นการคิดที่มีตุและผล

2.       อะไรเกิดก่อน และไปกระทบต่ออะไร

3.       ถ้าในสถิติ คือ คนหาปัจจัยที่เป็นตัวแปรอิสระกระทบต่อตัวแปรตาม เช่น ราคาน้ำมันแพง บริโภคน้อยลง

  1. สังคมไทยอ่อนอย่างนี้ เพราะไม่ชอบเลข ไม่ชอบวิทยาศาสตร์  จึงมองอะไรแบบไม่มีระบบ (แบบดาวกระจาย พึ่งไสยศาสตร์) เช่นเรื่องทางการแพทย์สูบบุหรี่เยอะต้องสุขภาพไม่ดีแน่นอน แต่ปัจจุบันเรามองแต่ในข้อดี

System Think ของผม คือ ต้องมีสุขภาพดี แต่ถ้าเมื่อคืนเรากินเหล้าแล้วมาสอนมันจะสอนได้หรือเปล่า

การหาความรู้ทุกวัน  การที่นำเสนออะไรต้องได้รับการยอมรับจาก Stakeholder คือต้องอ่านหนังสือและฝึกอย่างต่อเนื่อง

พื้นฐานวันนี้ต้องเอา Basics มาให้ดูสำรวจตัวเองว่า อ่อนเพราะอะไร มีตัวอย่าง 3 เรื่องที่สำคัญ System Thinking เป็นเรื่องของสมองข้างซ้าย ความคิดสร้างสรรค์เป็นเรื่องของสมองข้างขวา แต่ถ้าเราจะเน้นเรื่องความคิดสร้างสรรค์ พื้นฐานไม่แน่น การทำให้ความคิดสร้างสรรค์ไม่มีคุณภาพ ต่อยอดไม่ได้

1)    เช่นวันนี้ เราจะเน้นความคิดสร้างสรรค์ ต้องมี System thinking ก่อน  คือ ถ้า 1+1 =2 ไม่มี 1+1 =8,-8 ก็จะไม่เกิด

2)    เศรษฐกิจพอเพียง  พระเจ้าอยู่หัวคิดเป็นระบบก่อนจะบริหาร  เน้นสายกลาง เน้นเรื่องการมีเหตุมีผล เรื่องเดียวกับ system think เพื่อมุ่งไปสู่ความยั่งยืน

3)    Peter Senge กล่าวว่า  มีวัฒนธรรมการเรียนรู้ได้ ก็ต้องมีความคิดเป็นระบบ

Personal Mastery รู้อะไร รู้ให้จริง

Mental Models     มีแบบอย่างทางความคิด

Shared Vision      มีเป้าหมายร่วมกัน

Team Learning    เรียนรู้เป็นทีมช่วยเหลือกัน

System Thinking มีระบบการคิดมีเหตุมีผล

 

ส่วนเรื่องบูรณาการ สำคัญมากในประเทศไทยต้องเข้าใจอย่างถ่องแท้ ตัวอย่าง คือ Edwards De Bono  กล่าวว่ามีวิธีคิดหลายอย่าง เช่น

-                     คิดบวก

-                     คิดลบ

-                     คิดสร้างสรรค์

-                     คิดใช้ข้อมูล

-                     ไม่ชอบคิด

แต่ถ้าเป็นบูรณาการเราต้องมีมุมมองหลายๆอย่าง เช่นการที่เราอยู่ในห้องประชุมเราฟังแต่เรื่องทีสนับสนุนไม่มีมุมมองที่แต่ต่าง ยังไม่ใช่เป็นการบูรณาการ หรือเป็นการที่เราจะแยกกันคิดก็ได้ไม่จำเป็นต้องบูรณาการทุกครั้ง แต่เน้นความรอบครอบศึกษาทุกเรื่อง เพื่อให้เกิดความชัดเจน ต้องอดทนในการบูรณาการ

  • ประเด็นก็คือ บางครั้งแยกกันคิดก็ได้ แต่ในบางโอกาสต้องใช้ทุกวิธีมาปฏิบัติ
  • ตัวผมเน้นข้ามศาสตร์ หรือ คิดแบบแนวนอน Horizontal เช่น วิทยาศาสตร์กับสังคมศาสตร์
  • ส่วนที การเรียนต่อไป การดำรงชีวิตต้องข้ามศาสตร์ ในสังคมศาสตร์ก็มีหลายศาสตร์  เช่นในองค์กรขงองเรา กฎหมายกับบัญชี หรือกฎหมายกับเศรษฐศาสตร์ หรือ เศรษฐศาสตร์กับบัญชีสังคมไทยเป็นสังคมที่ชื่นชมคนลงลึก แต่เราต้องลึกและกว้าว พร้อมกัน เป็นแบบตัว เราต้องมีแก่นก่อนและกระจาย
  • สุดท้าย ต้องมองตัวละครที่เกี่ยวข้องกับกทม. เช่น นักธุรกิจ นักวิชาการ นักการเมือง  ข้าราชการนอกกทม. และ NGO นำเอาความต้องการมาวิเคราะห์ร่วมกัน
  • Blue Ocean Strategy กล่าวว่าเรื่องความคิดสร้างสรรค์ที่สำคัญคือ ทุนมนุษย์
  • Innovation จำเป็นเพราะเป็นยุคที่จะต้องทำงานใหม่ ๆ  innovationคือ

           มี Ideas ใหม่ หรือ Creativity และบวกกับความรู้

                    2) Turn ideas to action

                    3) ทำให้สำเร็จ

                       HR for Innovation ในองค์กรอาจจะมองได้ 4 เรื่อง คือ

  1.        Product ใหม่ ๆ
  2.        การให้บริการ (Service) ใหม่ ๆ
  3.        การบริหารจัดการแบบใหม่ (Branding หรือ Process Management)
  4.         นวัตกรรมทางสังคม (Social Innovation) เช่น ชุมชน การศึกษา เรื่องสิ่งแวดล้อม

 

การที่มีความคิดสร้างสรรค์ ยกตัวอย่าง การอ่านหนังสือดี ๆทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ใช้ Internet,Social work การพูดคุยกับคนเก่ง ปะทะกับคนเก่ง

จุดอ่อนของเรา ก็คือ
(1) เรายังไม่ได้สร้างบรรยากาศในการ Share ความรู้ร่วมกันในองค์กร เพื่อให้เกิดวัฒนธรรมการเรียนรู้ ต้องสร้างบรรยากาศให้คนเกิดการเรียนรู้ โดยมีประธานสามารถรับฟังได้ เพื่อเด็กรุ่นใหม่ไม่มีกาลเทศะ แต่ต้องเปิดโอกาสให้พูดเพื่อเป็นการฝึก ไม่ต้องถาม Creativity คืออะไร แต่ต้องถามว่าเราต้องทำอย่างไร และต้องให้เกิดการมีส่วนร่วม ให้มีทั้งแนวทั้งและแนวนอน

(2) การบริหารส่วนใหญ่ยังเป็นแบบ Top down อยู่ ซึ่งจะเน้น Command and Control หรือเป็นการทำงานแบบแนวดิ่ง Vertical *Powerมีไว้สำหรับ Participate ในทุกระดับในอนาคตเราน่าจะมีเรื่องการมีส่วนร่วมมากขึ้น กทม. มีคนมีความสามารถแต่เรื่องระบบบริหารจัดการทำให้ block ความคิด เราต้องเปิดโอกาสให้คนในออกความเห็น

(3) ส่วนใหญ่ทำงานเยอะ working แต่ Think Strategies (คิดเป็นยุทธศาสตร์ไม่มาก)เราต้องคิดพร้อมกับทำ สิ่งเหล่านี้ต้องใช้เวลา และสร้างวัฒนธรรม

4) การทำงานเป็นทีมมีแต่ในระดับ function ได้ดีแต่ไม่ Cross function    ทุนที่สำคัญ ก็คือ Social Capital มีในระดับหนึ่ง แต่ควรสร้าง ให้ Network กว้างขึ้น

(5) ทฤษฎี Innovation บอกว่า เราต้องใช้ Outsourcing ให้เกิดปัญญายกกำลัง + +

Action Plan ต้องเน้น..

- Project Proposal- Project Approval

- และต้องเน้น Execution และ GTD (Get thing Done) โดยเฉพาะการเขียน Project และอนุมัติ Project

เมื่อมี Project และต้องบริหาร Project ให้ได้ เอาชนะอุปสรรค ไปสู่ความสำเร็จ

ได้เงิน /ได้หน้า /ได้ความสุข -บางครั้งวัดเป็นเงินได้ บางครั้งวัดไม่ได้เรียกว่า Intangible แต่องค์กรยั่งยืน บุคลากรในองค์กรมีความรู้)

เราจะประสบความสำเร็จเรื่อง Creativity และ Innovation

1.       อดทน

2.       พร้อมที่จะล้มเหลวและผิดหวัง

3.       หาความรู้หลาย ๆ ศาสตร์และสด

4.       ค่อย ๆ ทำเป็น Step อย่ารีบร้อน

5.       สร้าง Innovation Culture ในองค์กร

พิชญ์ภูรีย์ :

·         เรื่องวัฒนธรรมการเรียนรู้ บางเรื่องเป็นความรู้เก่า แต่บางเรื่องสด

·         ต้องขอชมฝ่ายการฝึกอบรม เขามองภาพที่เป็นเรื่องจำเป็น คือการเอาความคิดสร้างสรรค์มาต่อยอดในสิ่งทีเรามี

·         โจทย์ที่ กทม. ตั้งไว้เป็นลำดับขั้นตอน เรื่องการคิดเป็นระบบอะไรเกิดก่อนเกิดหลัง การลองทำยกตัวอย่างค่าแรงสูงคนเข้ามาน้อยลง แต่เราต้องมองเรื่องอื่นเช่นเรื่องการทำความสะอาด กทม

ขอบพระคุณครับ เป็นประโยชน์ มากมากครับ

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท