Thailand Needs to Invest in People, Not Rice


ทัศนะของต่างชาติ ที่เขามองประเทศไทย

ก็พิจารณาดูกันนะครับ

Thailand Needs to Invest in People, Not Rice

By William Pesek Jul 12, 2013 4:00 AM GMT+0700

The search for lessons from lost economic decades has led from Japan to the U.S. to Europe. Now the spotlight turns to Thailand (SET).This may strike 

some as odd, considering Thailand’s 5.3 percent growth, its young and expanding population, and the surprising level of political stability in Bangkok. In her two years leading Thailand’s 68 million people, Yingluck Shinawatra has somehow managed to tamp down the virtual civil war that led to the ouster of her prime minister brother in 2006.

William Pesek

About William Pesek»

William Pesek is based in Tokyo and writes on economics, markets and politics throughout the Asia-Pacific region. ... MORE

FOLLOW ON TWITTER

More from William Pesek:

Look closer, though, at the thrust of Yingluck’s economic policies. Her government has subsidized rice prices, provided handouts to car buyers and favored megaprojects that will enrich the politically connected more than the masses. All this comes at the expense of long-term competitiveness and prosperity: Thailandshould instead be investing in its future, especially education, if it wants to break out of the “middle-income trap” that befalls many developing nations.

Yingluck’s U-turn last week on the government’s policy of hoarding rice at above-market rates is a case in point. She had planned to limit a practice that jeopardizes the country’s fiscal position and warps commodity markets. Moody’s Investors Service says the subsidies damage Thailand’s credit rating. Yet she caved to farmers, even firing her commerce minister to do so.

Thaksinomics Redux

Granted, the program isn’t bankrupting Thailand. The country’s $346 billion economy can handle the $4.4 billion the government blew on rice purchases last year. But Yingluck’s recent priorities bear troubling similarities to those her exiled brother, Thaksin Shinawatra, championed from 2001 to 2006. His vaunted “Thaksinomics” never amounted to more than a Tammany Hall-like doling out of cash in return for rural votes.

In January, Yingluck unveiled a plan to lift Thai living standards. She proposed spending about $72 billion over 10 years on transportation, energy and telecommunications projects. Yingluck’s government is pushing an $8.6 billion port-and-industrial-zone project in neighboring Myanmar. Last week in Turkey, she called for a “New Silk Road” rail project to link Europe andAsia.

“We have some very big ideas, concrete ones, to make growth more inclusive,” Transport Minister Chadchart Sittipunt told me last month in Bangkok.

Forgotten in this ambitious building boom, though, is any investment in social infrastructure. It’s even more important to invest billions of dollars in education and in training to improve the quality of the labor force and raise productivity so that Thailand can keep up in the world’s most dynamic region. The country lags not just at the tertiary level, but also at the primary and secondary phases of the education process. Like several other countries in the region, Thailand’s focus on rote learning gives short shrift to creative and critical thinking and English proficiency.

“There is little sign that inadequate investment in human capital and the need for reform of the education system is recognized by the current government,” says economist Peter Warr at the Australian National University in Canberra. He’s done extensive research on Thailand’s economic growing pains.

Thailand matters because it’s a role model in the region. As Myanmar exits decades of isolation and tries to build a healthy economy, it’s looking to Thailand for direction and financing. The same goes for Cambodia, Laos and Vietnam. How Thailand evolves will reverberate around the neighborhood.

Going Nowhere

At the moment, Thailand is walking in place even if its headline growth rates outpace Japan, the U.S. and Europe. To Bank of Thailand economist Piti Disyatat, per-capita gross domestic product tells the story: It has been hovering around 15 percent to 20 percent of U.S. levels for more than 10 years.

This is a precarious moment for Thailand to be stuck at a per capita GDP of about $5,000. Global growth is tepid, China is slowing, and Indonesia, Philippines and Vietnam are winning jobs that Thailand (THGDPYOY) once took for granted. As Thai wages rise, so do production costs. It must move faster up the value chain to build more technologically advanced products in the electronics and automobiles sectors -- preferably bearing Thai names, not just Japanese ones.

Building a more entrepreneurial workforce requires big investments and political will, both of which are in short supply. Corruption, among other things, skews incentives. Massive road, bridge and power-grid projects are dripping with opportunities for politicians and business people to line their pockets. “There are few if any kickbacks available from investment in education,” Warr says. “Physical infrastructure is another matter.”

Thaksin’s policy of cash handouts to rural areas was the economic equivalent of a sugar high. It did nothing to strengthen government institutions, build a credible legal system or invest in human capital. The five prime ministers who led Thailand between Thaksin’s ouster and his sister’s victory in July 2011 spent all their time avoiding another coup.

Now that Thailand is stable, it’s time to invest in the future. Pouring more money into people rather than rice farms and construction companies would be a good start.

(William Pesek is a Bloomberg View columnist.)

To contact the writer of this article: William Pesek in Tokyo at [email protected].

To contact the editor responsible for this article: Nisid Hajari at [email protected].


หมายเลขบันทึก: 542228เขียนเมื่อ 12 กรกฎาคม 2013 21:27 น. ()แก้ไขเมื่อ 12 กรกฎาคม 2013 21:27 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลงจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (12)

เนื้อหาดีมาก ขอบคุณที่คัดมาให้อ่านนะครับ แต่ว่าอาจจะเป็นเพราะชื่อเรื่องและเนื้อหาเป็นภาษาอังกฤษหรือเปล่าจึงมีผู้สนใจอ่านน้อย น่าเสียดาย

นักวิชาการไทยดีๆก็มองออกและเสนอความคิดเห็นกันมาแล้วนะคะ แต่ไม่มีใครในรัฐบาลจะสนใจรับฟัง วัตถุประสงค์ของเขาไม่ได้มองที่ประชาชนอย่างเดียวนั่นเอง

นี่คือข้อความของนักการศึกษาไทย ที่หมดอาลัยตายอยากกับการพัฒนาบุคลากรทางการศึกษาของราชการ ที่เขาโพสต์ไว้ในเฟซบุ๊ค ท้ายบทความของนายฝรั่งคนนี้ "เรืองการศึกษาถ้าไม่มีใครทำอย่างที่ควรจะทำ (ไม่ใช่แบบราชการ_การเมืองอยากจะทำ) ก้อต้องลงมือลุ้นเองเท่าที่แรงจะมีแหละครับ_ช่วยกับคุณครูที่เป็นครูจริง ๆและมิตรสหายที่ยังคิดถึงลูกหลาน ไม่ได้คิดถึงตำแหน่ง หน้าตา ความสำคัญของตนเองมากไปกว่าอนาคตชาติ_กับขาวบ้านที่รักลูกจริงๆ _คิดได้เยอะครับ แต่อาจเหนื่อยบ้างเวลาลงมือ_หาพวกๆมาช่วยกัน"

Thailand needs to invest in People, not rice.

เห็นด้วยที่ไทยจำเป็นต้องลงทุนเกี่ยวกับ "คน" และคิดว่าไทยกำำลังเพิ่มการลงทุนด้านนี้อยู่แล้วทุกปี ดูจากงบทางด้านการศึกษาผ่านกระทรวงศึกษาธิการที่สูงกว่าทุกกระทรวงมาหลายปีแล้ว งบประมาณของกระทรวงทางด้านสังคมรวม ๆกันก็ไม่ได้น้อย แต่เท่าไรจึงจะพอ บางทีลงทุนด้วยเงินจำนวนมากก็ไม่ได้เพิ่มคุณภาพของคนอย่างที่ควรจะเป็น กำลังแรงงานไทยยังคงต้องได้รับการพัฒนาต่อไป คงไม่ใช่หน้าที่ของรัฐเท่านั้น แต่เป็นของสังคมตั้งแต่หน่วยที่เล็กที่สุดคือครอบครัวขึ้นไปด้วยที่จะต้องทำหน้าที่ของตนอย่างดีที่สุด แต่น่าเป็นห่วงที่หน่วยต่าง ๆอาจไม่ตระหนักในหน้าที่ของตน เด็กจำนวนไม่น้อยที่ไม่ได้รับการอบรมบ่มนิสัยจากบ้าน จะพึ่งโรงเรียนอาจสายเกินไป ครูและโรงเรียนอยู่ในภาวะสับสนไม่สามารถจะเลือกและประยุกต์ทฤษฎีสู่การปฏิบัติอย่างเหมาะสม ทำตาม ๆกัน ทำหลายอย่างเกินไป แล้วจะรับศตวรรษที่ 21 และ AEC อย่างไร ผลก็พอจะคาดเดาได้

การลงทุนเกี่ยวกับ Rice ก็มีความจำเป็น เพราะในที่นี้ rice มิใช่แค่ข้าว แต่กินความไปถึงชาวนาผู้ผลิตข้าว ซึ่งรัฐไม่เคยลงทุนอย่างจริงจัง กว่าจะผลิตข้าวได้แต่ละกิโล คนที่ไม่ใช่ชาวนาลองทำดูแล้วจะรู้ถึงความลำบากและจะรู้ซึ้งว่าข้าวนั้นถูกแสนถูกไม่คุ้มค่าแรงและไม่เหมาะสมกับความสำคัญของข้าวในสังคม ชาวนาจึงยากแค้นเป็นส่วนใหญ่ รัฐเดินมาถูกทางแล้วที่ให้ความสำคัญกับการยกระดับให้ชาวนามีรายได้สูงขึ้น ปัญหาในทางปฏิบัติเป็นสิ่งที่ต้องแก้ไข ต้องเปลี่ยนทัศนคติของคนในสังคมส่วนหนึ่งที่มองเห็นแต่ความชั่วร้ายของรัฐด้านเดียว ขออย่าให้ประเทศเพื่อนบ้านอย่าเอาอย่างเลย

Thailand has been a model for developing countries for nearly 3 decades. Thailand is still a model -- for mismanagement of opportunities!

ขอบคุณในหลายมุมมองที่แสนสุภาพของชาวเรา กทน.

ก็ต้องขอบคุณนายฝรั่งคนนีที่เขาอุตส่าห์เขียนถึงเรา แต่ยังไง ๆ เขาก็คงไม่รู้จักเราจริงหรอก การลงทุนเพื่อพัฒนาคนเราก็ทำ ทั้งราชการ เอ

ก็ต้องขอบคุณนายฝรั่งคนนีที่เขาอุตส่าห์เขียนถึงเรา แต่ยังไง ๆ เขาก็คงไม่รู้จักเราจริงหรอก การลงทุนเพื่อพัฒนาคนเราก็ ทำ ทั้งราชการ เอกชน ส่วนเรื่องข้าวไทยนั้น เราก็มีทำแบบที่ไม่เป็นเพียงยาชูกำลังตามที่ ดร.วิรไท สันติประภพ ท่านกล่าวไว้ http://www.gotoknow.org/posts/542268 ยิ่ี่ง ดร.ชูเกียรติ ที่ผมพบท่านในเฟซบุ็ค https://www.facebook.com/charoonkiat.phatthamontrisin ท่านพูดถึงเรื่องข่้าว แล้วรู้ว่าเราก็ไปไกลตามที่ท่านได้เขียนไว้ แล้วน่ฟัง " เศรษฐีอยู่ที่ไหนของโลก......ประเทศไทย/ชาวนาไทยเกษตรกรไทย....จะเป็นเศรษฐีของโลกได้เม่ือไร/มองโลกมองเรา...ภาคเอกชนต้องนำ"เทคโนโลยีต้องเหนือกว่า/นโยบายต้องเก่งกว่า/คุณภาพและปริมาณควรสูงตาม/ต้นทุนต้องชนะด้วย...เราจึงนำได้/อำนาจก็จะเหนือกว่า"

Photo: เศรษฐีอยู่ที่ไหนของโลก......ประเทศไทย/ชาวนาไทยเกษตรกรไทย....จะเป็นเศรษฐีของโลกได้เม่ือไร/มองโลกมองเรา...ภาคเอกชนต้องนำ"เทคโนโลยีต้องเหนือกว่า/นโยบายต้องเก่งกว่า/คุณภาพและปริมาณควรสูงตาม/ต้นทุนต้องชนะด้วย...เราจึงนำได้/อำนาจก็จะเหนือกว่า"

Photo: เศรษฐีอยู่ที่ไหนของโลก......ประเทศไทย/ชาวนาไทยเกษตรกรไทย....จะเป็นเศรษฐีของโลกได้เม่ือไร/มองโลกมองเรา...ภาคเอกชนต้องนำ"เทคโนโลยีต้องเหนือกว่า/นโยบายต้องเก่งกว่า/คุณภาพและปริมาณควรสูงตาม/ต้นทุนต้องชนะด้วย...เราจึงนำได้/อำนาจก็จะเหนือกว่า"

Photo: เศรษฐีอยู่ที่ไหนของโลก......ประเทศไทย/ชาวนาไทยเกษตรกรไทย....จะเป็นเศรษฐีของโลกได้เม่ือไร/มองโลกมองเรา...ภาคเอกชนต้องนำ"เทคโนโลยีต้องเหนือกว่า/นโยบายต้องเก่งกว่า/คุณภาพและปริมาณควรสูงตาม/ต้นทุนต้องชนะด้วย...เราจึงนำได้/อำนาจก็จะเหนือกว่า"
อย่างไรก็ดี หากนโยบายรับจำข้าว ที่ล้มเหลวจนต้องเปลี่ยนรัฐมนตรี ไม่ลึกไปถึงการพัฒนาเทคโนโลยีข้าว พัฒนาตัวชาวนาหลาย ๆ ด้าน ก็ทานการวิจารณ์เรื่องข่้าวจากจากชาวไทยกันเอง และต่างชาติไม่ได้

ทำไมจึงต้องเปลี่ยนรัฐมนตรีที่ดูแลเรื่องข้าว ข้อเขียนต่อไปนี้ ก็อาจนำร้องให้มองได้บ้าง http://www.gotoknow.org/posts/542268

ฝรั่งแนะรัฐบาล เขาคงไม่อาจหาญแนะนำเอกชนไทย ที่เราทำกันโดยทั่วไปแทบทุกวัน นี่ก็เป็นกรณีตัวอย่างหนึ่ง http://www.easy.tc?g8k

https://www.facebook.com/banyat.boonya/media_set?set=a.683143481700020.1073741893.100000131230229&type=3

การพัฒนาบุคลากรเป็นเรื่องสำคัญ เพราะฐานของกิจการจะก้าวหน้า อยู่ที่ปัญญาของบุคลากรที่จะได้รับการเสริมเติมเต็ม ให้ทันโลกทันเหตุการณ์ อีกทั้งการสร้างขวัญกำลังใจภายใน สร้างความรักความผูกพัน ได้เห็นความสามารถของกันในวันที่มีการพัฒนา เพราะว่าในที่ทำงานในองค์การใหญ่ ๆ ต่างคนทำ หรือทำกันอยู่ในกลุ่มงานของตน   จนยึดติดกับสิ่งที่ทำ  เพียงบอกให้ Change กระบวนการ ปัจจัย ให้ขยัน เอาใจใส่ในงานจึงยาก หากไม่พัฒนาบุคลากร การพัฒนาบุคลากรในวันนี้ มีกรรมวิธีที่ผู้รับการพัฒนาที่ทำไม่ให้ไม่หลับ ด้วยเพียง ฟัง ฟัง ฟัง วิทยากรที่เชี่ยวชาญ จึงเป็นที่ขานรับ และนำไปสร้างประโยชน์ สร้างรายได้เพิ่ม สร้างชื่อเสียงให้กับหน่วยงานเอกชน และรัฐที่ผู้บริหารหน่วยงานเห็นความสำคัญ 

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท