สุลักษณ์ ศิวรักษ์ หรือที่รู้จักกันในนามปากกาว่า ส. ศิวรักษ์ เป็นนักเขียนชาวไทย และนักวิชาการอิสระ ซึ่งเป็นที่รู้จักทั่วไปจนได้รับสมญานามว่าปัญญาชนสยาม มีชื่อเสียงอย่างมากในการวิจารณ์อย่างไม่เกรงใจใคร ไม่เกรงอำนาจผู้ใด ได้รับ รางวัลอัลเทอเนทีฟโนเบล ในปี พ.ศ. 2538 มีผลงานการเขียนมากมายครอบคลุมหลายด้าน เช่นพุทธศาสนา สังคม การเมือง รูปแบบการปกครอง เป็นต้น โดยมีหนังสืออัตชีวประวัติของตนเองชื่อว่า ช่วงแห่งชีวิตและในปี พ.ศ. 2554 ได้รับรางวัลสันติภาพนิวาโน หรือที่รู้จักกันว่ารางวัลโนเบลแห่งเอเชีย จากมูลนิธิสันติภาพนิวาโน นอกจากนี้ สุลักษณ์ยังได้รับการเสนอชื่อเข้ารับรางวัลโนเบล สาขาสันติภาพถึงสองครั้งด้วย(1)
1. สังคมสยามตามทัศนะของปัญญาชนไทยหมายเลข ๑๐
2. มุมมองสถาบันกษัตริย์ของ ส. ศิวลักษณ์
2.1 มุมมองสถาบันกษัตริย์ของ ส. ศิวลักษณ์ 1
2.2 มุมมองสถาบันกษัตริย์ของ ส. ศิวลักษณ์ 2
3. ความขัดแย้งในสังคมไทย
3.1 ความขัดแย้งในสังคมไทย 1
3.2 ความขัดแย้งในสังคมไทย 2
3.3 ความขัดแย้งในสังคมไทย 3
3.4 ความขัดแย้งในสังคมไทย 4
9. ปัญญาชนแบบพุทธ
( ปาฐกถาในงาน 60ปี 6วิถี นายแพทย์นิรันดร์ พิทักษ์วัชระ วันที่ 12 พฤษภาคม 2555.)
for Thailand's lèse majesté law? #
Institute's Satyagraha Event
17.2 พุทธศาสนามหายาน...ที่คนไทยควรรู้จัก 2
----------------------------------------
บันทึกนี้เขียนที่ GotoKnow โดย paaoobtong ใน ที่นี่ประเทศไทย
ขอบคุณสำหรับเรื่องราวดี ๆ จ้ะท่านอาจารย์ที่เคารพ