การศึกษาเรื่องการพัฒนาเศรษฐกิจของราชอาณาจักรกัมพูชา


การศึกษาเรื่องการพัฒนาเศรษฐกิจของราชอาณาจักรกัมพูชา

ผู้จัดทำ นางสาวจารุพร พรมบุ  เลขที่ 5

            นางสาวนพวรรณ  ครุธวงษ์ เลขที่ 8

            นางสาวรุ่งนภา  แต่งสุวรรณ์ เลขที่ 14

            นายอชิตะ  เจิมจรุง เลขที่ 20

ระดับชั้น   มัธยมศึกษาปีที่ 4

ครูที่ปรึกษา ครูอภินันท์  สีสันต์

โรงเรียน     ท่ามะกาวิทยาคม

ปีการศึกษา 2555

บทคัดย่อ

              การศึกษาเรื่องการพัฒนาเศรษฐกิจของราชอาณาจักรกัมพูชาเป็นการค้นคว้าในรายวิชาสื่อสารและการนำเสนอ IS2 สาระเพิ่มเติมหลักสูตรโรงเรียนมาตรฐานสากล จัดทำขึ้นจากการค้นคว้านอกห้องเรียนตามความสนใจของนักเรียนแต่ละกลุ่มโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ  1) ศึกษาข้อมูลเบื้องต้นของราชอาณาจักรกัมพูชา 2) ศึกษาข้อมูลเบื้องต้นที่ส่งผลต่อการพัฒนาเศรษฐกิจของราชอาณาจักรกัมพูชา 3) ศึกษาความคิดเห็นของบุคคลต่อการพัฒนาเศรษฐกิจของราชอาณาจักรกัมพูชา

              เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาประกอบด้วย  1) เว็บไซต์ที่เกี่ยวกับราชอาณาจักรกัมพูชา 2) เอกสาร หนังสือเกี่ยวกับภูมิภาคอาเซียน และราชอาณาจักรกัมพูชา 3) แบบบันทึกข้อมูล  4) แบบสัมภาษณ์ข้อมูลความคิดเห็นเกี่ยวกับการพัฒนาเศรษฐกิจของราชอาณาจักรกัมพูชา

              จากการศึกษาพบว่า 1) ข้อมูลเบื้องต้นของราชอาณาจักรกัมพูชา คือกัมพูชาต้องตกอยู่ในสภาวะสงครามกลางเมืองยาวนานหลายปี  ในการบูรณะประเทศหลังสงครามกลางเมือง กัมพูชามีความคืบหน้าอย่างรวดเร็วในด้านเศรษฐกิจและทรัพยากรมนุษย์ประเทศกัมพูชาได้มีหนึ่งในบันทึกเศรษฐกิจที่ดีที่สุดในเอเชีย โดยมีอัตราการเติบโตทางเศรษฐกิจเฉลี่ย 6.0% เป็นเวลานาน 10 ปี ภาคสิ่งทอ เกษตรกรรม การก่อสร้าง เสื้อผ้าและการท่องเที่ยวที่เข้มแข็งได้นำไปสู่การลงทุนจากต่างชาติและการค้าระหว่างประเทศ ใน พ.ศ. 2548 มีการพบแหล่งน้ำมันและแก๊สธรรมชาติใต้น่านน้ำอาณาเขตของกัมพูชา และเมื่อการขุดเจาะเชิงพาณิชย์เริ่มขึ้นใน พ.ศ. 2546 รายได้จากน้ำมันสามารถมีผลต่อเศรษฐกิจกัมพูชาอย่างลึกซึ้ง  2) การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นที่ส่งผลต่อการพัฒนาเศรษฐกิจของราชอาณาจักรกัมพูชาคือประเทศนี้เคยตกเป็นเมืองขึ้นของฝรั่งเศสและญี่ปุ่นประชากรจึงสามารถใช้ภาษาในการสื่อสารได้ในระดับดีเป็นปัจจัยที่เอื้อต่อการพัฒนาเศรษฐกิจ สภาพทางภูมิศาสตร์ ยังเต็มไปด้วยทรัพยากรธรรมชาติที่อุดมสมบูรณ์ เช่น ป่าไม้ ก๊าซธรรมชาติ บ่อน้ำมันและแร่ธาตุ จำนวนมากซึ่งจะเป็นปัจจัยสำคัญต่อการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศอย่างมั่นคง ส่วนเรื่องการศึกษา การเมืองการปกครอง สังคมและวัฒนธรรม เป็นปัญหาที่ท้าทายคณะผู้บริหารประเทศซึ่งหากแก้ไขได้จะเป็นปัจจัยที่เอื้ออำนวยในการพัฒนาประเทศอย่างดีต่อไป
3) การวิเคราะห์ข้อมูลความคิดเห็นต่อการพัฒนาเศรษฐกิจของราชอาณาจักรกัมพูชา บุคคลทั่วไปร้อยละ 79.46 เห็นว่าการพัฒนาเศรษฐกิจของราชอาณาจักรกัมพูชา น่าจะเป็นไปในทิศทางที่ดี สอดคล้องกับสมมติฐานที่ตั้งไว้



หมายเลขบันทึก: 521065เขียนเมื่อ 1 มีนาคม 2013 15:41 น. ()แก้ไขเมื่อ 1 มีนาคม 2013 15:41 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลงจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (58)

ราชอาณาจักรกัมพูชา

จุดแข็งมีทรัพยากรธรรมชาติหลากหลายและอุดมสมบูรณ์ โดยเฉพาะน้ำ ป่าไม้ และแร่ชนิดต่างๆ• ค่าจ้างแรงงานต่ำสุดในอาเซียน (1.6 USD/day)
จุดอ่อนระบบสาธารณูปโภคพื้นฐานยังไม่พัฒนาเท่าที่ควร• ต้นทุนสาธารณูปโภค (น้ำ ไฟฟ้า และการสื่อสาร) ค่อนข้างสูง• ขาดแคลนแรงงานมีทักษะ
ประเด็นที่น่าสนใจประเด็นขัดแย้งระหว่างไทย-กัมพูชาอาจบั่นทอนโอกาสการขยายการค้า-การลงทุนระหว่างกันในอนาคตได้

นักเรียนที่รักของครู

ไทยกับกัมพูชาสถาปนาความสัมพันธ์ทางการฑูต มายาวนานตั้งแต่ 19 ธันวาคม 2493 แต่ในด้านความสัมพันธ์กันจริงๆ นักเรียนคงพบว่ามีความผันผวนมากเพราะกรณีเขาพระวิหารซึ่งศาลโลกจะตัดสินในเดือนเมษายน 2556 ขอให้นักเรียนสนใจติดตามข่าว คิด วิเคราะห์ อ่าน แสวงหาความรู้เพิ่มเติมในกรณีดังกล่าว แต่ไทยและกัมพูชาเป็นคู่ค้าทางเศรษฐกิจที่สำคัญ ไทยเข้าไปเป็นผู้ลงทุนรายใหญ่ในด้านการเกษตร อุตสาหกรรม และธุรกิจการคมนาคม
ในกัมพูชาเพราะค่าแรงถูกมาก รอบแนวชายแดนไทยที่ติดกับกัมพูชามีบ่อนการพนันที่ถูกกฎหมายให้บริการลูกค้าส่วนใหญ่ที่เป็นชาวไทย แต่ชาวกัมพูชาห้ามเข้า นักเรียนลองคิดวิเคราะห์ดูว่าจะเกิดอะไรขึ้นถ้าเราพากันเข้าไปใช้บริการบ่อนดังกล่าว ครูสอนมามากในเรื่องนี้ และได้แต่ภาวนาว่านักเรียนของครูคงหาลู่ทางเข้าไปทำงานในกัมพูชา แต่ไม่เข้าไปใช้บริการบ่อนดังกล่าวนะคะ

ขอให้ทุกคนโชคดีในการสอบและขอให้นำแนวคิดในการเรียนวิชาการสื่อสารและการนำเสนอ IS2 นี้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์แก่ชีวิต

รักนักเรียนทุกคนถึงแม้จะขี้บ่นไปบ้าง

ครูอภินันท์

 

เด็กหญิงสิรินทรา บัวหอม

จากข้อมูลดิฉันคิดว่ากัมพูชาเป็นประเทศที่มีความอุดมสมบูรณ์ดีอยู่แล้วแต่ไม่นำมาใช้ให้เป็นประโยชน์จึงควรหาผู้นำที่มีความรู้มาพัฒนาและจัดการทรัพยากรอย่างชาญฉลาด

การศึกษา กัมพูชาเป็นประเทศที่ให้การศึกษาแก่ผู้ที่มีเงินใครไม่มีเงินก้จะไม่ได้เรียนดังนั้นจึงควรหาผู้นำที่ค่อนข้างให้ความสำคัญกับการศึกษาพอสมควรจะทำให้

# กัมพูชาควรจะหาผู้นำที่ให้ความสำคัญกับการศึกษากับการพัฒนาและจัดการทรัพยากรที่มีจำกัดอย่างชาญฉลาดเพื่อพัฒนาประเทศต่อไป

นาย ภมรพล น้อยเกตุ ม. 4/3 เลขที่ 5

บทคัดย่อ

   การศึกษาเรื่องการพัฒนาเศรษฐกิจของราชอาณาจักรกัมพูชาเป็นการค้นคว้าในรายวิชาสื่อสารและการนำเสนอ IS2 สาระเพิ่มเติมหลักสูตรโรงเรียนมาตรฐานสากล จัดทำขึ้นจากการค้นคว้านอกห้องเรียนตามความสนใจของนักเรียนแต่ละกลุ่มโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ  1) ศึกษาข้อมูลเบื้องต้นของราชอาณาจักรกัมพูชา 2) ศึกษาข้อมูลเบื้องต้นที่ส่งผลต่อการพัฒนาเศรษฐกิจของราชอาณาจักรกัมพูชา 3) ศึกษาความคิดเห็นของบุคคลต่อการพัฒนาเศรษฐกิจของราชอาณาจักรกัมพูชา

  เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาประกอบด้วย  1) เว็บไซต์ที่เกี่ยวกับราชอาณาจักรกัมพูชา 2) เอกสาร หนังสือเกี่ยวกับภูมิภาคอาเซียน และราชอาณาจักรกัมพูชา 3) แบบบันทึกข้อมูล  4) แบบสัมภาษณ์ข้อมูลความคิดเห็นเกี่ยวกับการพัฒนาเศรษฐกิจของราชอาณาจักรกัมพูชา

  จากการศึกษาพบว่า 1) ข้อมูลเบื้องต้นของราชอาณาจักรกัมพูชา คือกัมพูชาเคยตกเป็นเมืองขึ้นของชาติหลายชาติ  ไม่ว่าจะเป็นชาติฝรั่งเศสและประเทศญี่ปุ่น  ทำให้ไม่สามารถพัฒนาประเทศได้ดีเท่าไร   สภาพภูมิประเทศของกัมพูชาเป็นแบบราบลุ่มแม่น้ำโขง  ซึ่งสามารถทำการเกษตรกรรมได้  ประเทศกัมพูชามีระบบการเมืองการปกครองเป็นแบบระบอบประชาธิปไตย  หลังจากมีอิสระแล้ว ประเทศกัมพูชาก็หันมาพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศตนเองโดยเริ่มจากเปิดโอกาสทำการค้าขายกับประเทศต่างๆ และพยายามทำให้สินค้าและบริการชองประเทศตนเองเป็นที่ยอมรับของประเทศต่างๆ    2) การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นพบว่า การพัฒนาประเทศของประเทศกัมพูชาเป็นไปในทางที่ดี  เนื่องจากมีสภาพทรัพยากรธรรมชาติที่มีประโยชน์แก่การนำมาใช้ทำเป็นสินค้าเพื่อการส่งออก ไม่ว่าจะเป็น ยางพารา ข้าว  ไม้  ถั่วเหลือง ฯลฯ  ประเทศกัมพูชามีการเปิดทำการค้ากับประเทศต่างๆ ทำให้ระบบเศรษฐกิจมีการพัฒนาไปในทางที่ดี    รวมไปถึงเรื่องของสังคมและวัฒนธรรม  ประเทศกัมพูชามีความหลากหลายทางภาษา  เพราะเคยตกเป็นเมืองขึ้นของชาติฝรั่งเศสและประเทศญี่ปุ่น  ประเทศกัมพูชาจึงมีการพัฒนาประเทศไปในทางที่ดีเนื่องจากมี สภาพภูิมิศาสตร์  การเมืองการปกครอง  และระบบเศรษฐกิจที่ส่งผลสอดคล้องต่อการพัฒนาประเทศ

นางสาว พรพรรณ จันทร์พูล ชั้น ม.4/3 เลขที่ 41

        เรียน คุณครู อภินันท์  สีสันต์  

        การแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับประเทศกัมพูชา

              ดิฉันคิดว่าการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศกัมพูชานั้นยังมีแนวโน้มการพัฒนาที่ยังไม่ดีนักเนื่องจากประเทศกัมพูชานั้นมีประวัติศาสตร์ที่ส่งผลต่อการพัฒนาเศรษฐกิจในปัจจุบันและยังขาดแคลนผู้ที่มีความรู้ความสามารถมาเป็นผู้นำในการพัฒนาประเทศ และประเทศกัมพูชาต้องเผชิญกับวิกฤติเศรษฐกิจในภูมิภาคเอเชีย ความขัดแย้งทางการเมืองภายในประเทศทำให้นักลงทุนต่างประเทศถอนตัวออกจากประเทศกัมพูชา ส่งผลให้การฟื้นฟูบูรณะและการพัฒนาประเทศเป็นไปอย่างล่าช้า รายได้จากภาคการท่องเที่ยวมีการลดลง เนื่องจากเกิดเหตุการณ์การก่อความไม่สงบ โดยมีการเผาสถานทูตไทย ณ กรุงพนมเปญ เกิดปัญหาการระบาดของโรคทางเดินหายใจเฉียบพลันรุนแรง ประกอบกับสถานการณ์ความไม่แน่นอนทางการเมืองในกัมพูชา ทุกปัจจัยที่กล่าวมาต่างมีผลต่อการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศกัมพูชาทั้งสิ้น และประเทศกัมพูชาเป็นประเทศที่มีสถานที่ท่องเที่ยวที่เป็นโบราณสถานมากมายซึ่งแต่ละสถานที่ต่างมีความงดงามมีความสมบูรณ์แสดงให้เห็นถึงอารยธรรมดั้งเดิมว่าประเทศกัมพูชาเคยมีความรุ่งเรืองมากเพียงใด และดิฉันคิดว่าถ้าประเทศกัมพูชาพัฒนาทางด้านการท่องเที่ยวให้ดีกว่านี้จะสามารถดึงดูดนักท่องเที่ยวและสร้างรายได้ให้แก่ประเทศได้อย่างมหาศาลแน่นอน

นางสาว ณัฐกมล น้อยเกตุ ชั้นม. 4/3 เลขที่ 8

              ประเทศกัมพูชา จากที่ได้อ่านและได้ศึกษาทั้งภายในและภายนอกห้องเรียนแล้ว  ก็ได้คิดวิเคราะห์ข้อมูลนั้นออกมาว่า ประเทศกัมพูชาเป็นประเทศที่เคยตกอยู่ในระหว่างการทำสงครามกลางเมืองเป็นเวลายาวนาน แต่ประเทศกัมพูชาก็ได้มีการบรูณะประเทศซึ่งก็ทำให้ประเทศกัมพูชานั้นดีขึ้นมา ประเทศกัมพูชานั้นมีทรัพยากรที่มีความอุดมสมบรูญ์มากมายหลายอย่าง แต่ทรัพยากรที่มีเหล่านั้นไม่สามารถนำเอามาใช้ประโยชน์ได้เพราะ มีผู้นำประเทศที่ไม่มีการศึกษามากพอที่จะนำไปพัฒนาประเทศกัมพูชา  เนื่องจากในประเทศกัมพูชามีการศึกษา ในรูปแบบที่ไม่เท่ากัน ถ้าเกิดเราต้องการที่จะเรียนหนังสือ เราต้องเป็นคนรวยหรือเป็นเด็กผู้ชายเท่านั้นถึงจะได้รับการศึกษา แต่ถ้าเป็นเด็กผู้หญิงต้องเป็นคนที่มีฐานะร่ำรวยเท่านั้น  แต่ถ้าเกิดเป็นเด็กผู้หญิงที่ไม่ได้รับการศึกษาจะต้องโดนกดขี่ทางเพศ  จากข้อมูลที่ได้ศึกษาประเทศกัมพูชาโดยรวมแล้วประเทศกัมพูชาน่าจะมีการพัฒนาไปได้ไม่ดีนัก เพราะ มีผู้นำที่ไม่เข้มแข็งพอ สำหรับการพัฒนาประเทศ แต่ถ้าประเทศกัมพูชาต้องการให้ประเทศพัฒนาไปได้ด้วยดี ประเทศกัมพูชาต้องหาผู้นำที่มีความรู้พอประมาณ มีความคิดป็นของตนเอง มีความฉลาดพอเหมาะที่จะสามารถนำเอาความคิดนั้นไปพัฒนาประเทศให้เจริญรุ่งเรืองได้

น.ส.สมฤทัย เอมเอี่ยม ชั้นม.4/3 เลขที่24

 เรียน คุณครู อภินันท์  สีสันต์ 

         กัมพูชามีอัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจ (GDP Growth) ร้อยละ -1.5 ซึ่งมีสาเหตุจากภัยแล้งและอุทกภัย ส่งผลกระทบต่อผลผลิตด้านการเกษตร ซึ่งเป็นรายได้หลักของประชากรร้อยละ 70 ของประเทศ รวมถึงการส่งออกเสื้อผ้าสำเร็จรูป สิ่งทอ รองเท้า ที่ลดลง เพราะได้รับผลกระทบจากการชะลอตัวทางเศรษฐกิจของสหรัฐอเมริกาและสหภาพยุโรป ซึ่งเป็นตลาดส่งออกหลักของกัมพูชา และการที่สหรัฐอเมริกายกเลิกการใช้มาตรการ Safeguard ต่อสินค้าเสื้อผ้าสำเร็จรูปจากจีน นอกจากนี้ จากปัญหาวิกฤตเศรษฐกิจและการเงินโลก ส่งผลให้การพัฒนาด้านอสังหาริมทรัพย์ได้ชะลอตัวลง และบางโครงการถอนการลงทุน อนึ่ง ราคาที่ดินและอสังหาริมทรัพย์ที่ซบเซาส่งผลให้อำนาจซื้อของประชาชนลดลง อย่างไรก็ตาม ในปี พ.ศ. 2553 คาดว่าอัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจของกัมพูชาน่าจะอยู่ที่ร้อยละ 3.5 เนื่องจากมีปัจจัยบวกจากการฟื้นตัวของเศรษฐกิจโลกทำให้การส่งออกของกัมพูชามีแนวโน้มดีขึ้น ที่สำคัญกัมพูชาก็เริ่มให้การสนับสนุนกับการลงทุนภาคสาธารณะมากขึ้นเพื่อรองรับเศรษฐกิจที่จะฟื้นตัวภายในอนาคต อาทิ การสร้างถนน โรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ โรงไฟฟ้าถ่านหิน สร้างท่าอากาศยาน การบริหารจัดการระบบรถไฟ เป็นต้น 


นางสาว เรณุกา เบี้ยแก้วกระจ่าง ชั้น ม.4/3 เลขที่ 32

         จากที่ได้อ่านประเทศกัมพูชามีแนวโน้มการพัฒนาเศรษฐกิจไปในทิศทางที่ดี เพราะประเทศกัมพูชามีความอุดมสมบรูณ์ในทางด้านทรัพยากรและในด้านเศรษฐกิจ ปัจจัยที่ส่งผลดีประเทศกัมพูชาซึ่งเคยเคยตกเป็นเมืองขึ้นของประเทศอื่นจึงสามารถใช้ภาษาในการสื่อสารได้จึงเป็นผลดีต่อการพัฒนาเศรษฐกิจระหว่างประเทศกัมพูชาและประเทศอื่นในประชาคมอาเซียนและทั่วโลก

นางสาว ณัฐกมล น้อยเกตุ ชั้นม. 4/3 เลขที่ 8

     เรียน อาจารย์  อภินันท์   สีสันต์

     การแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับประเทศกัมพูชา

           ประเทศกัมพูชา จากที่ได้อ่านและได้ศึกษาทั้งภายในและภายนอกห้องเรียนแล้ว  ก็ได้คิดวิเคราะห์ข้อมูลนั้นออกมาว่า ประเทศกัมพูชาเป็นประเทศที่เคยตกอยู่ในระหว่างการทำสงครามกลางเมืองเป็นเวลายาวนาน แต่ประเทศกัมพูชาก็ได้มีการบรูณะประเทศซึ่งก็ทำให้ประเทศกัมพูชานั้นดีขึ้นมา ประเทศกัมพูชานั้นมีทรัพยากรที่มีความอุดมสมบรูญ์มากมายหลายอย่าง แต่ทรัพยากรที่มีเหล่านั้นไม่สามารถนำเอามาใช้ประโยชน์ได้เพราะ มีผู้นำประเทศที่ไม่มีการศึกษามากพอที่จะนำไปพัฒนาประเทศกัมพูชา  เนื่องจากในประเทศกัมพูชามีการศึกษา ในรูปแบบที่ไม่เท่ากัน ถ้าเกิดเราต้องการที่จะเรียนหนังสือ เราต้องเป็นคนรวยหรือเป็นเด็กผู้ชายเท่านั้นถึงจะได้รับการศึกษา แต่ถ้าเป็นเด็กผู้หญิงต้องเป็นคนที่มีฐานะร่ำรวยเท่านั้น  แต่ถ้าเกิดเป็นเด็กผู้หญิงที่ไม่ได้รับการศึกษาจะต้องโดนกดขี่ทางเพศ  จากข้อมูลที่ได้ศึกษาประเทศกัมพูชาโดยรวมแล้วประเทศกัมพูชาน่าจะมีการพัฒนาไปได้ไม่ดีนัก เพราะ มีผู้นำที่ไม่เข้มแข็งพอ สำหรับการพัฒนาประเทศ แต่ถ้าประเทศกัมพูชาต้องการให้ประเทศพัฒนาไปได้ด้วยดี ประเทศกัมพูชาต้องหาผู้นำที่มีความรู้พอประมาณ มีความคิดป็นของตนเอง มีความฉลาดพอเหมาะที่จะสามารถนำเอาความคิดนั้นไปพัฒนาประเทศให้เจริญรุ่งเรืองได้

นางสาว กิตติยา มาเอี่ยม ชั้น ม.๔/๓ เลขที่ ๓๖

 เรียน คุณครู อภินันท์  สีสันต์ 

          จากข้อมูลที่ได้ศึกษามาดิฉันคิดว่าประเทศกัมพูชาเคยตกเป็นเมืองขึ้นของฝรั่งเศสและญี่ปุ่นประชากรจึงสามารถใช้ภาษาในการสื่อสารได้ในระดับดีเป็นปัจจัยที่เอื้อต่อการพัฒนาเศรษฐกิจ สภาพทางภูมิศาสตร์ ยังเต็มไปด้วยทรัพยากรธรรมชาติที่อุดมสมบูรณ์ เช่น ป่าไม้ ก๊าซธรรมชาติ บ่อน้ำมันและแร่ธาตุ จำนวนมากซึ่งจะเป็นปัจจัยสำคัญต่อการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศอย่างมั่นคง ส่วนเรื่องการศึกษา การเมืองการปกครอง สังคมและวัฒนธรรม เป็นปัญหาที่ทางประเทศต้องพัฒนา และที่ต้องพัฒนาคือเรื่องการศึกษาเพราะการศึกษาในประเทศกัมพูชายังไม่พัฒนาทำให้ประชาชนขาดความรู้ความสามารถซึ่งจะทำให้ส่งผลก็การเมืองการปกครองเพราะรัฐบาลยังไม่เข้มแข็งพอดังนั้นการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศกัมพูชายังมีแนวโน้มการพัฒนาที่ยังไม่ดีขึ้น

น.ส.ปนัสยา วงษ์พนัส ชั้นม.4/3 เลขที่ 21

เรียนอาจารย์ อภินันท์ สีสันต์ ดิฉัน น.ส.ปนัสยา  วงษ์พนัส มีความคิดเห็นเกี่ยวกับอาเซียนของประเทศกัมพูชา คือ จากการศึกษาข้อมูลของประเทศกัมพูชาก็ได้มีการวิเคราะห์ข้อมูลความคิดเห็นต่อการพัฒนาเศรษฐกิจประเทศกัมพูชาในอนาคตมีแนวโน้มว่าจะมีเศรษฐกิจไปในทางที่ดี เนื่องจากพื้นที่ส่วนใหญ่เป็นที่ราบลุ่มแม่น้ำ ข้าวจึงเป็นพืชอาหารและพืชเศรษฐกิจที่สำคัญ โดยสามารถผลิตได้ปีละประมาณ 4.2 – 4.5 ล้านตันการส่งออกข้าวจึงทำรายได้ให้ประเทศกัมพูชาเป็นจำนวนมาก ผลผลิตทางการเกษตรที่สำคัญอีกชนิดหนึ่งคือ ปลาน้ำจืดเนื่องจากการมีแม่น้ำโขงเป็นแม่น้ำสายหลักที่ผ่านจากตอนบนมายังตอนใต้ของประเทศประกอบกับมีทะเลสาบน้ำจืดที่ใหญ่ที่สุดในเอเซียตะวันออกเฉียงใต้ทำให้ปลาน้ำจืดจากธรรมชาติเป็นผลผลิตทางการเกษตรที่สามารถจับในฤดูหาปลาได้มากถึง 250,000 – 280,000 ตันในแต่ละปี ทำให้ประเทศกัมพูชามีรายได้สูงจากทั้งสองอย่างนี้

น.ส. ปวีณา ศรีปัญญา ชั้น ม. 4/3 เลขที่ 22

จากข้อมูลที่ดิฉันทราบเกี่ยวกับประเทศกัมพูชา 

 กัมพูชาเป็นประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีพรมแดนทางทิศใต้จรดกับอ่าวไทย ทางทิศตะวันตกติดกับประเทศไทย ทางทิศเหนือติดกับประเทศไทยและลาว ทางทิศตะวันออกติดกับเวียดนาม กัมพูชาเป็นอดีตประเทศอาณานิคมของฝรั่งเศสในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เพียงแค่ประเทศเดียวเท่านั้นที่มีการปกครองด้วยระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ กัมพูชาตั้งอยู่กลางภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีพรมแดนทิศเหนือติดกับประเทศไทย ภูมิประเทศส่วนใหญ่เป็นที่ราบประกอบด้วยที่ราบรอบทะเลสาบเขมรและที่ราบลุ่มแม่น้ำโขงมีทิวเขาล้อมรอบทางเหนือคือ เทือกเขาพนมดงรัก เทือกเขาบรรทัด เทือกเขาอันนัม กัมพูชา มีลักษณะภูมิประเทศคล้ายชามหรืออ่าง คือ ตรงกลางเป็นแอ่งทะเลสาบและลุ่มแม่น้ำโขงอันกว้างขวาง มีภูเขาล้อมรอบอยู่ 3 ด้าน มีทรัพยากรธรรมชาติที่สมบูรณ์และเนื่องจากประเทศกัมพูชาเคยตกเป็นเมืองขึ้นจึงทำให้มีความถนัดทางด้านภาษา ส่วนทางด้านเศรษฐกิจดิฉันคิดว่าประเทศกัมพูชาเป็นประเทศที่กำลังพัฒนาขึ้นเรื่อยๆและอยู่ในระดับดี เพราะใช้ระบบเศรษฐกิจอาศัยกลไกการตลาดเสรี ส่วนเรื่องการเมืองการปกครองจะขึ้นอยู่กับคณะรัฐมนตรีชุดปัจจุบันโดยที่ประเทศกัมพูชามีจุดอ่อนตรงขาดแคลนแรงงานที่มีทักษะนั้นเอง

นางสาว ณัฐกมล น้อยเกตุ ชั้นม. 4/3 เลขที่ 8


 เรียน คุณครู อภินันท์  สีสันต์  

        การแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับประเทศกัมพูชา

             ประเทศกัมพูชา จากที่ได้อ่านและได้ศึกษาทั้งภายในและภายนอกห้องเรียนแล้ว  ก็ได้คิดวิเคราะห์ข้อมูลนั้นออกมาว่า ประเทศกัมพูชาเป็นประเทศที่เคยตกอยู่ในระหว่างการทำสงครามกลางเมืองเป็นเวลายาวนาน แต่ประเทศกัมพูชาก็ได้มีการบรูณะประเทศซึ่งก็ทำให้ประเทศกัมพูชานั้นดีขึ้นมา ประเทศกัมพูชานั้นมีทรัพยากรที่มีความอุดมสมบรูญ์มากมายหลายอย่าง แต่ทรัพยากรที่มีเหล่านั้นไม่สามารถนำเอามาใช้ประโยชน์ได้เพราะ มีผู้นำประเทศที่ไม่มีการศึกษามากพอที่จะนำไปพัฒนาประเทศกัมพูชา  เนื่องจากในประเทศกัมพูชามีการศึกษา ในรูปแบบที่ไม่เท่ากัน ถ้าเกิดเราต้องการที่จะเรียนหนังสือ เราต้องเป็นคนรวยหรือเป็นเด็กผู้ชายเท่านั้นถึงจะได้รับการศึกษา แต่ถ้าเป็นเด็กผู้หญิงต้องเป็นคนที่มีฐานะร่ำรวยเท่านั้น  แต่ถ้าเกิดเป็นเด็กผู้หญิงที่ไม่ได้รับการศึกษาจะต้องโดนกดขี่ทางเพศ  จากข้อมูลที่ได้ศึกษาประเทศกัมพูชาโดยรวมแล้วประเทศกัมพูชาน่าจะมีการพัฒนาไปได้ไม่ดีนัก เพราะ มีผู้นำที่ไม่เข้มแข็งพอ สำหรับการพัฒนาประเทศ แต่ถ้าประเทศกัมพูชาต้องการให้ประเทศพัฒนาไปได้ด้วยดี ประเทศกัมพูชาต้องหาผู้นำที่มีความรู้พอประมาณ มีความคิดป็นของตนเอง มีความฉลาดพอเหมาะที่จะสามารถนำเอาความคิดนั้นไปพัฒนาประเทศให้เจริญรุ่งเรืองได้

นางสาวพรนภา ศรีทอง ชั้น ม.4/3 เลขที่ 40

ประเทศกัมพูชา จากที่ได้อ่านและได้ศึกษาทั้งภายในและภายนอกห้องเรียนแล้ว ก็ได้คิดวิเคราะห์ข้อมูลนั้นออกมาว่า ประเทศกัมพูชามีการเตรียมตัวเพื่อที่จะก้าวเข้าสู่อาเซียนในหลายๆๆด้าน เช่น ด้านเศรษฐกิจ ด้านการศึกษา ด้านการท่องเที่ยว ด้านการคมนาคมขนส่ง และด้านการปกครอง ภาวะเศรษฐกิจของกัมพูชาหลังจากสงครามภายในประเทศสงบลง ได้มีการฟื้นฟูประเทศให้น่าอยู่มากขึ้น ส่งผลให้การท่องเที่ยวของประเทศกัมพูชามีความนักท่องเที่ยวมาเที่ยวใน กัมพูชามากขึ้น ทำให้ความต้องการสินค้าและบริการเพิ่มมากขึ้น และมีความต้องการสิ่งอำนวยความสะดวกเพิ่มมากขึ้น เพื่อความสะดวกสบายของนักท่องเที่ยวและคนในประเทศด้วย การปกครองของกัมพูชามีการปกครองอย่างเคร่งครัดและให้พระมหากษัตริ์ทรงเป็น ประมุข ด้านการศึกษาของกัมพูชามีการปรับเปลี่ยนรูปแบบการเรียนการสอนใหม่ เพื่อที่จะไม่ล่่าสมัย ข้อมูลที่ศึกษามาโดยรวมแล้ว ประเทศกัมพูชาน่าจะมาการพัฒนาให้เร็วกว่านี้ เพราะเป็นประเทสเดียวที่มีความถดถอยลง ไม่เหมือนประอาเซียนอื่นๆๆ ที่มีความพัฒนาในหลายๆๆด้าน และมีความทันสมัยมากขึ้น ทั้งหมดนี้มันสามารถที่จะทำให้ประเทศกัมพูชามาความเจริญรุ่งเรืองได้

นาย อิทธิวัฒน์ ตันติปิธรรม ชั้น ม.4/3 เลขที่ 27

เรียน คุณครู อภินันท์ สีสันต์

              มีความคิดเห็นเกี่ยวกับประเทศกัมพูชาว่า ประเทศกัมพูชา มีประวัติความเป็นมาที่ไม่ค่อยจะดีมากนัก เพราะเคยตกเป็นเมืองขึ้นของประเทศฝรั่งเศษ เเต่ข้อดีที่ได้จากการตกเป็นเมืองขึ้นคือ ได้รับรู้ภาษาจากต่างประเทศมาจึงทำให้ประเทศกัมพูชานั้นใช้ภาษาในสื่อสารกับคนชาวต่างชาติได้อย่างดี ส่วนสภาพภูมิอากาศนั้นอยู่ระดับที่ดีพอสมควรเเละอุดมสมบูรณ์เพราะมีทั้ง ป่าไม้ ก๊าซ น้ำมันเเละเเร่ธาตุ ซึ่งเป็นส่วนในการพัฒนาเศรษฐกิจอย่างมาก ส่วนทางด้านการศึกษานั้นได้ไปศึกษามาอยู่ในระดับที่ไม่ค่อยดีมากนัก ยังต้องพัฒนาไปเรื่อยๆเพราะระบบการศึกษาของประเทศกัมพูชายังไม่ทั่วถึงพอ จึงทำให้เด็กบางคนหมดโอกาสที่จะได้ศึกษาหาความรู้เเละไม่มีทางนำไปพัฒนาต่อ ทางด้านการเมืองการปกครอง เป็นการปกครองเเบบระบบรัฐสภาโดยมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข เเต่อยู่ภายใต้อำนาจรัฐ เเละด้านสังคมเเละวัฒนธรรมมีทิศทางไปในทางทีไม่ดีนัก จากข้อมูลโดยรวมที่ได้ไปศึกษาประเทศกัมพูชาน่าจะมีการพัฒนาเศรษฐกิจไปในทางที่ไม่ดีนัก เพราะผู้นำประเทศเเละผู้คนประชาชนยังขาดความรู้ เเละการศึกษา ทำให้ผู้นำประเทศไม่ความรู้ไม่เพียงพอต่อการพัฒนาประเทศให้รุ่งเรืองได้มากขึ้น ดังนั้นประเทศกัมพูชาควรให้ความสำคัญทางด้านการศึกษาให้มากขึ้นเพื่อจะได้มีผู้นำประเทศที่มีความรู้ความสามารถมาพัฒนาประเทศทำให้พัฒนาต่อขึ้นไปอีกเรื่อยๆ

น.ส.ภัทราวดี บวบทอง ชั้นม.4/3 เลขที่ 11

    คิดว่าการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศกัมพูชานั้นมีแนวโน้มการพัฒนาที่ดีขึ้น เพราะเมื่อก่อนประเทศกัมพูชาตกอยู่ในสภาวะสงครามกลางเมือง ประเทศก็ยังสามารถฟื้นตัวขึ้นมาได้ ด้านเศรษฐกิจก็มีการเจริญเติบโตขึ้นอย่างต่อเนื่อง และเนื่องจากประเทศกัมพูชาเคยตกเป็นเมืองขึ้นของประเทศฝรั่งเศสและญี่ปุ่นจึงทำให้ได้รับภาษาของทั้งสองประเทศเข้ามา ทั้งนี้ภาษาที่ได้รับมายังเป็นปัจจัยที่เอื้อเฟื้อต่อการทำเดินงานทางด้านเศษฐกิจอีกด้วย ด้านทรัพยากรธรรมชาติของประเทศก็สมบรูณ์มีทั้ง ก๊าซธรรมชาติ บ่อน้ำมันและแร่ธาตุ ภาคเกษตรกรรม สิ่งทอ ก็มีการส่งออกเสื้อผ้า จากการวิเคาระห์ข้อมูลข้างต้นจึงทำให้ข้าพเจ้าคิดว่า ประเทศกัพูชามีการพัฒนาเศรษญกิจในแนวโน้มที่ดี.

นางสาวธนกาญจน์ กลิ่นหอม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่4/3 เลขที่18

เรียนอาจารย์อภินันท์  สีสันต์ ข้าพเจ้านางสาวธนกาญจน์ กลิ่นหอม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่4/3 เลขที่18 ข้าพเจ้ามีความคิดเห็นเกี่ยวกับราชอาณาจักรกัมพูชา ราชอาณาจักรกัมพูชามีสภาพภูมิศาสตร์ เต็มไปด้วยทรัพยากรธรรมชาติที่อุดมสมบูรณ์ เช่น ป่าไม้ ก๊าซธรรมชาติ บ่อน้ำมันและแร่ธาตุ ด้านการเมืองสภาพการเมืองในกัมพูชาปัจจุบันถือว่ามีเสถียรภาพพรรคการเมืองสองพรรคหลักซึ่งประกอบขึ้นเป็นรัฐบาลกัมพูชา คือพรรคประชาชนกัมพูชา (CPP) ของสมเด็จฮุน เซน และพรรคฟุนซินเปค (FUNCINPEC) ด้านเศรษฐกิจหลังจากสงครามภายใน ประเทศกัมพูชาเริ่มสงบลงและเริ่มพัฒนาฟื้นฟูบูรณะประเทศทำให้ความต้องการสินค้าและบริการเพิ่มมากขึ้น จึงเปิดโอกาสให้ประเทศกัมพูชาทำการค้าขายกับต่างประเทศมากยิ่งขึ้นจึงส่งผลต่อเศรษฐกิจของประเทศ
ภาษาที่ใช้ภาษาเขมรเป็นภาษาทางการ ส่วนภาษาที่ใช้โดยทั่วไป ได้แก่ ภาษาอังกฤษ ภาษาฝรั่งเศส ภาษาเวียดนาม ภาษาไทย และภาษาจีน ศาสนาส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ รองลงมาคือศาสนาอิสลาม ข้าพเจ้าเห็นว่าการพัฒนาของราชอาณาจักรกัมพูชาน่าจะเป็นไปในทิศทางที่ดีขึ้นค่ะ





 

นางสาว เนตรนภา วงค์วิลาส ม.4/3 เลขที่ 34

เรียน คุณครู อภินันท์  สีสันต์ 

การแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับประเทศกัมพูชา

          จากที่ได้อ่านประเทศกัมพูชา เนื่องจากในอดีตกัมพูชาเคยอยู่ในสภาวะสงครามกลางเมือง แต่สามารถบูรณะได้อย่างรวดเร็ว ด้านเศรษฐกิจ ภาคสิ่งทอ เกษตรกรรม การก่อสร้างและการท่องเที่ยว ที่ดีทำให้มีแนวโน้วพัฒนาเศรษฐกิจดีขึ้น และการพบแหล่งน้ำมันดิบก๊าซธรรมชาติ ทำให้กัมพูชามีการพัฒนาเศรษกิจได้อย่ารวดเร็ว และค่าแรงที่ต่ำกว่าประเทศอื่นๆมากทำให้มีต่างประเทศเข้ามาลงทุนมาก      เนื่องจากในอดีตกัมพูชาเคยตกเป็นเมืองขึ้นของฝรั่งเศษและญี่ปุ่น ส่งผลให้ประชากรสามารถใช้ภาษาได้ดีเป็นอีกปัจจัยที่เอื้อต่อการพัฒนาเศรษฐกิจ และทรัพยากรธรรมชาตที่สมบูรณ์ เช่น ป่าไม้ ก๊าซธรรมชาติ บ่อน้ำมัน เป็นต้น ทำให้การพัฒนาเศรษฐกิจเป็นไปอย่างมั่งคง ทางด้านการศึกษายังขาดแคลนอุปกรณ์ทางการศึกษาและระบบการศึกษาที่ดีทำให้ไม่มีประสิทธิภาพเท่าที่ควร และทางด้านการปกครองยังมีปัญหาความขัดแย้งทำให้มีการบริหารประเทศไม่มีเท่าที่ควร สามารถสรุปได้ว่าการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศกัมพูชาน่าจะมีแนวโน้มการพัฒนาเศรษฐกิจไปในทิศทางที่ดีขึ้น

น.ส. นิออน เกลี้ยงเกลา ม. 4/3 เลขที่ 22

ประเทศกัมพูชา หรือชื่อทางการว่า “ราชอาณาจักรกัมพูชา” (Kingdom of Cambodia) มีพรมแดนทางทิศใต้จดกับอ่าวไทย ทางทิศตะวันตกติดกับประเทศไทย ทางทิศเหนือติดกับประเทศไทยและลาว ทางทิศตะวันออกติดกับเวียดนาม มีพื้นที่ 181,035 ตารางกิโลเมตร ประชากรกว่า 14.8 ล้านคน (สำรวจในปี พ.ศ. 2554) มีศาสนาพุทธนิกายเถรวาทเป็นศาสนาประจำชาติ ซึ่งมีประชากรกัมพูชานับถือประมาณ 95% ชนกลุ่มน้อยในประเทศมีทั้งชาวเวียดนาม ชาวจีน ชาวจาม  และชาวเขากว่า 30 เผ่า ปัจจุบันกัมพูชาแบ่งเขตการปกครองเป็น 20 จังหวัด มีเมืองหลวง คือ พนมเปญ ซึ่งเป็นศูนย์กลางการเมือง เศรษฐกิจและวัฒนธรรมของกัมพูชา มีภาษาทางการ คือ ภาษาเขมร

กัมพูชาเป็นอดีตประเทศอาณานิคมของฝรั่งเศสในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้เพียงประเทศเดียวที่มีการปกครองด้วยระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ การสืบทอดราชสันตติวงศ์ของกัมพูชาจะขึ้นอยู่กับ “ราชสภาเพื่อราชบัลลังก์” (Royal Council of the Throne) เป็นสภาที่มีบทบาทสูงสุดในการคัดเลือกพระมหากษัตริย์ สภาพทางการเมืองในกัมพูชาปัจจุบันถือว่ามีเสถียรภาพ พรรคการเมือง 2 พรรคหลัก ซึ่งประกอบขึ้นเป็นรัฐบาลกัมพูชา 


น.ส. นิออน เกลี้ยงเกลา ม. 4/3 เลขที่ 38

ประเทศกัมพูชา หรือชื่อทางการว่า “ราชอาณาจักรกัมพูชา” (Kingdom of Cambodia) มีพรมแดนทางทิศใต้จดกับอ่าวไทย ทางทิศตะวันตกติดกับประเทศไทย ทางทิศเหนือติดกับประเทศไทยและลาว ทางทิศตะวันออกติดกับเวียดนาม มีพื้นที่ 181,035 ตารางกิโลเมตร ประชากรกว่า 14.8 ล้านคน (สำรวจในปี พ.ศ. 2554) มีศาสนาพุทธนิกายเถรวาทเป็นศาสนาประจำชาติ ซึ่งมีประชากรกัมพูชานับถือประมาณ 95% ชนกลุ่มน้อยในประเทศมีทั้งชาวเวียดนาม ชาวจีน ชาวจาม  และชาวเขากว่า 30 เผ่า ปัจจุบันกัมพูชาแบ่งเขตการปกครองเป็น 20 จังหวัด มีเมืองหลวง คือ พนมเปญ ซึ่งเป็นศูนย์กลางการเมือง เศรษฐกิจและวัฒนธรรมของกัมพูชา มีภาษาทางการ คือ ภาษาเขมร

กัมพูชาเป็นอดีตประเทศอาณานิคมของฝรั่งเศสในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้เพียงประเทศเดียวที่มีการปกครองด้วยระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ การสืบทอดราชสันตติวงศ์ของกัมพูชาจะขึ้นอยู่กับ “ราชสภาเพื่อราชบัลลังก์” (Royal Council of the Throne) เป็นสภาที่มีบทบาทสูงสุดในการคัดเลือกพระมหากษัตริย์ สภาพทางการเมืองในกัมพูชาปัจจุบันถือว่ามีเสถียรภาพ พรรคการเมือง 2 พรรคหลัก ซึ่งประกอบขึ้นเป็นรัฐบาลกัมพูชา 


น.ส. สุทธิดา พงศ์ธิติปัญญากร ม. 4/3 เลขที่ 42

        เมื่อได้อ่านจึงสรุปได้ว่า ประเทศกัมพูชา การศึกษาเรื่องการพัฒนาเศรษฐกิจของราชอาณาจักรกัมพูชาเป็นหลักสูตรโรงเรียนมาตรฐานสากล การศึกษาจัดทำขึ้นจากการค้นคว้านอกห้องเรียนตามความสนใจของนักเรียนแต่ละกลุ่มโดยมีวัตถุประสงค์ต่างๆ เช่น จัดทำขึ้นเพื่อศึกษาข้อมูลเบื้องต้นที่ส่งผลต่อการพัฒนาเศรษฐกิจของราชอาณาจักรกัมพูชา และคิดวิเคราะห์ได้ว่า กัมพูชาเป็นประเทศที่เกิดสงครามกลางเมืองบ่อยครั้งและยาวนานมาก มีเหตุทำให้เกิดความวุ่นวายนานับประการ จึงมีการบูรณะปรับปรุงประเทศให้ดีขึ้น การท่องเที่ยวของกัมพูชาจึงมีความเข้มแข็ง เริ่มมีการลงทุนการค้าระหว่างประเทศ ค้นพบแหล่งน้ำมันก๊าสธรรมชาติ เศรษฐกิจของประเทศกัมพูชาเอื้ออำนวยและพัฒนาเจริญเติมโตให้ยิ่งๆ ขึ้นไป ทำให้การปกครองและการพัฒนาประเทศมีแข้มแข็งพร้อมก้าวเข้าไปในยุคเศรษฐกิจแห่งการค้าเสรีที่มั่นคง
         นอกจากนั้นแล้วประเทศกัมพูชายังมีรูปแบบการศึกษาที่แบ่งชั้นวรรณะที่ไม่เท่ากัน เช่น เมื่อต้องการที่จะเรียนหนังสือก็ต้องมีฐานะที่มีเงินทองเท่านั้นจึงจะสามารถเรียนหนังสือได้ ทำให้เกิดสิทธิความไม่เท่าเทียมกัน อาจมีการขัดแย้งขึ้นก็เป็นได้

นางสาว อัจวศญา รักษ์ผล ม.4/3 เลขที่ 14

ภาวะเศรษฐกิจของกัมพูชาหลังจากมีการเปลี่ยนแปลงการปกครองจากระบอบสังคมนิยมเป็นระบอบประชาธิปไตย และหลังจากสงครามภายใน ประเทศกัมพูชาเริ่มสงบลง และเริ่มพัฒนาฟื้นฟูบูรณะประเทศ ทำให้ความต้องการสินค้าและบริการเพิ่มมากขึ้น จึงเปิดโอกาสให้ ประเทศทำการค้าขายกับต่างประเทศมากยิ่งขึ้น กัมพูชาจึงกำหนดนโยบายที่มุ่งหวังการพัฒนาศักยภาพทางการเกษตร การท่องเที่ยว และส่งเสริมให้มีการลงทุนจากต่างชาติ โดยกำหนดยุทธการต่างๆ เพื่อเพิ่มรายได้ของรัฐและได้ดำเนินมาตรการต่างๆ อย่างต่อเนื่อง เช่น การปรับปรุงกฎหมายด้านเศรษฐกิจ การเพิ่มสิทธิประโยชน์แก่นักลงทุนต่างประเทศ การปฏิรูประบบจัดเก็บภาษีเงินได้ และเร่งรัดพัฒนาโครงสร้าง พื้นฐานทางเศรษฐกิจ เช่น สนามบิน ถนน ไฟฟ้า ประปา และสาธารณูปโภคต่างๆ  เป็นต้น 

เศรษฐกิจของกัมพูชา มีดังนี้

  1. เกษตรกรรม อยู่บริเวณที่ราบภาคกลาง รอบทะเลสาบเขมร พืชที่สำคัญคือ ข้าวเจ้า ยางพารา พริกไทย
  2. การประมง บริเวณรอบทะเลสาบเขมร เป็นแหล่งประมงน้ำจืดที่สำคัญที่สุดในภูมิภาค
  3. การทำป่าไม้ บริเวณเขตภูเขาทางภาคเหนือ โดยล่องมาตามแม่น้ำโขง
  4. การทำเหมืองแร่ ยังไม่ค่อยสำคัญ
  5. อุตสาหกรรม เป็นอุตสาหกรรมขนาดย่อม ส่วนใหญ่เป็นโรงสีข้าว โรงเลื่อย รองเท้า



นางสาว หทัยพัชร์ มีฟัก ม.4/3 เลขที่ 25

ประเทศกัมพูชาแต่เดิมการพัฒนาเศรษฐกิจเป็นไปในทิศทางที่ไม่ดีนัก แต่หลังจากสงครามเริ่มสงบลง ประเทศกัมพูชาได้เริ่มพัฒนาฟื้นฟูบูรณะประเทศ ทำให้ความต้องการสินค้าและบริการเพิ่มมากขึ้น จึงเปิดโอกาสให้ ประเทศทำการค้าขายกับต่างประเทศมากยิ่งขึ้น ทำให้ประเทศกัมพูชามีการพัฒนาเศรษฐกิจเป็นไปในทิศทางที่ดีขึ้นกว่าแต่ก่อน ตัวอย่างเศรษฐกิจของกัมพูชา เช่น สิ่งทอ เกษตรกรรม การก่อสร้าง และการท่องเที่ยว และยังมีการพบแหล่งน้ำมันดิบก๊าซธรรมชาติ ทำให้กัมพูชามีการพัฒนาเศรษกิจได้อย่างรวดเร็ว และในอนาคตอาจจะทำให้มีแนวโน้มในการพัฒนาเศรษฐกิจที่ีดีขึ้น

นางสาว อัจวศญา รักษ์ผล ม.4/3 เลขที่ 14

           ภาวะเศรษฐกิจของกัมพูชาหลังจากมีการเปลี่ยนแปลงการปกครองจากระบอบสังคมนิยมเป็นระบอบประชาธิปไตย และหลังจากสงครามภายใน ประเทศกัมพูชาเริ่มสงบลง และเริ่มพัฒนาฟื้นฟูบูรณะประเทศ ทำให้ความต้องการสินค้าและบริการเพิ่มมากขึ้น จึงเปิดโอกาสให้ ประเทศทำการค้าขายกับต่างประเทศมากยิ่งขึ้น กัมพูชาจึงกำหนดนโยบายที่มุ่งหวังการพัฒนาศักยภาพทางการเกษตร การท่องเที่ยว และส่งเสริมให้มีการลงทุนจากต่างชาติ โดยกำหนดยุทธการต่างๆ เพื่อเพิ่มรายได้ของรัฐและได้ดำเนินมาตรการต่างๆ อย่างต่อเนื่อง เช่น การปรับปรุงกฎหมายด้านเศรษฐกิจ การเพิ่มสิทธิประโยชน์แก่นักลงทุนต่างประเทศ การปฏิรูประบบจัดเก็บภาษีเงินได้ และเร่งรัดพัฒนาโครงสร้าง พื้นฐานทางเศรษฐกิจ เช่น สนามบิน ถนน ไฟฟ้า ประปา และสาธารณูปโภคต่างๆ เป็นต้น

 
เศรษฐกิจของกัมพูชา มีดังนี้

เกษตรกรรม อยู่บริเวณที่ราบภาคกลาง รอบทะเลสาบเขมร พืชที่สำคัญคือ ข้าวเจ้า ยางพารา พริกไทย
การประมง บริเวณรอบทะเลสาบเขมร เป็นแหล่งประมงน้ำจืดที่สำคัญที่สุดในภูมิภาค
การทำป่าไม้ บริเวณเขตภูเขาทางภาคเหนือ โดยล่องมาตามแม่น้ำโขง
การทำเหมืองแร่ ยังไม่ค่อยสำคัญ
อุตสาหกรรม เป็นอุตสาหกรรมขนาดย่อม ส่วนใหญ่เป็นโรงสีข้าว โรงเลื่อย รองเท้า


นางสาว อัจวศญา รักษ์ผล ม.4/3 เลขที่ 14

          ภาวะเศรษฐกิจของกัมพูชาหลังจากมีการเปลี่ยนแปลงการปกครองจากระบอบสังคมนิยมเป็นระบอบประชาธิปไตย และหลังจากสงครามภายใน ประเทศกัมพูชาเริ่มสงบลง และเริ่มพัฒนาฟื้นฟูบูรณะประเทศ ทำให้ความต้องการสินค้าและบริการเพิ่มมากขึ้น จึงเปิดโอกาสให้ ประเทศทำการค้าขายกับต่างประเทศมากยิ่งขึ้น กัมพูชาจึงกำหนดนโยบายที่มุ่งหวังการพัฒนาศักยภาพทางการเกษตร การท่องเที่ยว และส่งเสริมให้มีการลงทุนจากต่างชาติ โดยกำหนดยุทธการต่างๆ เพื่อเพิ่มรายได้ของรัฐและได้ดำเนินมาตรการต่างๆ อย่างต่อเนื่อง เช่น การปรับปรุงกฎหมายด้านเศรษฐกิจ การเพิ่มสิทธิประโยชน์แก่นักลงทุนต่างประเทศ การปฏิรูประบบจัดเก็บภาษีเงินได้ และเร่งรัดพัฒนาโครงสร้าง พื้นฐานทางเศรษฐกิจ เช่น สนามบิน ถนน ไฟฟ้า ประปา และสาธารณูปโภคต่างๆ เป็นต้น 
         เศรษฐกิจของกัมพูชา มีดังนี้
เกษตรกรรม อยู่บริเวณที่ราบภาคกลาง รอบทะเลสาบเขมร พืชที่สำคัญคือ ข้าวเจ้า ยางพารา พริกไทย
การประมง บริเวณรอบทะเลสาบเขมร เป็นแหล่งประมงน้ำจืดที่สำคัญที่สุดในภูมิภาค
การทำป่าไม้ บริเวณเขตภูเขาทางภาคเหนือ โดยล่องมาตามแม่น้ำโขง
การทำเหมืองแร่ ยังไม่ค่อยสำคัญ
อุตสาหกรรม เป็นอุตสาหกรรมขนาดย่อม ส่วนใหญ่เป็นโรงสีข้าว โรงเลื่อย รองเท้า


นางสาว หทัยพัชร์ มีฟัก ม.4/3 เลขที่ 25

        ประเทศกัมพูชาแต่เดิมมีการพัฒนาเศรษฐกิจเป็นไปในทิศทางที่ไม่ดี แต่หลังจากสงครามสงบลง ก็ได้เริ่มพัฒนาฟื้นฟูบูรณะประเทศ ทำให้ความต้องการสินค้าและบริการเพิ่มมากขึ้น จึงเปิดโอกาสให้ ประเทศทำการค้าขายกับต่างประเทศมากยิ่งขึ้น ทำให้ประเทศกัมพูชามีการพัฒนาเศรษฐกิจเป็นไปในทิศทางที่ดีขึ้นกว่าแต่ก่อน กัมพูชามีความคืบหน้าอย่างรวดเร็วในด้านเศรษฐกิจและทรัพยากรมนุษย์ เศรษฐกิจของกัมพูชา เช่น สิ่งทอ เกษตรกรรม การก่อสร้างและการท่องเที่ยว เศรศฐกิจของกัมพูชาเป็นไปในทิศทางที่ดี ทำให้กัมพูชามีการพัฒนาเศรษฐกิจได้อย่างรวดเร็ว และยังมีการค้นพบแหล่งน้ำมันดิบก๊าซ สรุปได้ว่าประเทศกัมพูชาอาจจะมีแนวโน้วในการพัฒนาเศรษฐกิจดีขึ้น


นายณัฐนนท์ เลิศมงคลธรรม ม.4/9 เลขที่ 39

จากการที่ได้ศึกษาข้อมูลเบื้องต้นและศึกษาเพิ่มเติม ผมมีความเห็นว่า กัมพูชานั้นเป็นประเทศซึ่งมีทรัยากรหลากหลาย ทั้งยังมีสถานที่ท่องเที่ยวสำคัญมากมาย ทั้งยังมีทะเลสาบที่ใหญ่ที่สุดในอาเซียนคือโตนเลสาบ ซึ่งเศรษฐกิจก็น่าจะเป็นไปในทางที่ดี แต่จากที่ศึกษาเพิ่มเติมในเบื้องลึก พบว่าในประเทศกัมพูชามีการคอรับชั่นที่สูงมาก คนจนก็จนมาก ทั้งยังมีค่ารักษาพยาบาลที่สูงมาก ประชากรด้อยการศึกษา สวัสดิการต่ำ และยังมีค่าจ้างแรงงานที่ถูกมาก จึงขาดประชากร ที่จะมาพัฒนาประเทศ ทำให้ประเทศขาดความเจริญเท่าที่ควร ทรัพยากรยังไม่สามารถถูกดึงมาใช้อย่างสูงสุด ทรัพยากรจึงยังถูกใช้ไปอย่างไร้ค่า หากมีประชากรหรือบุคลากรที่มีคุณภาพเข้าไปพัฒนาแล้ว ทรัพยากรก็จะถูกใช้ไปอย่างมีประสิทธิภาพ ประเทศก็จะมีการขยายตัวทางเศรษฐกิจ ที่สูงขึ้น ซึ่งหากกัมพูชาสามารถแก้ไขปัญหาการคอรับชั่นได้แล้ว การเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจของกัมพูชาจะต้องเป็นไปได้ด้วยดี และควรแก้ไขปัญหาทางการเมืองอย่างเร่งด่วน เพราะส่งผต่อเศรษฐกิจและก็ปัญหาด้านสาธารณูปโภคที่เป็นจุดสำคัญในการในแก้ไขปัญหาของประเทศกัมพูชา

น.ส. วันนิสา เจริญศิริกาญจน์

จากการที่ได้อ่านข้อความเบื้องต้นและศึกษาประเด็นทั้ง 5 แล้ว ทำให้รู้ว่าประเทศกัมพูชามีความเจริญกว้าหน้าที่รวดเร็วและมีการพัฒนาบ้านเมืองของตนเองในทางที่ดีขั้น ไม่ว่าจะในเรื่องการท่อผ้า เกษตรกรรม รวมถึงสิ่งที่ค้นพบในประเทศ เช่น น้ำมัน แก๊สธรรมชาติ และแร่ธาตุต่างๆ มากมาย แถมยังเคยตกเป็นเมืองขึ้นของประเทศฝรั่งเศสและญี่ปุ่นจึงทำให้ด้านภาษาของประเทศกัมพูชาอยู่ในระดับที่ดีและยังเป็นต่อในเรื่องของการสื่อสารที่จะค้าขายและขยายผลต่อการพัฒนาประเทศได้อีกมาก ดังนั้นประเทศกัมพูชาจึงสามารถพัฒนาประเทศได้อีกมากถ้ามีคณะบริหารที่ดีที่จะพัฒนาประเทศให้ดียิ่งขั้น เพื่อจะเตรียมตัวที่จะเข้าสู้ประเทศอาเซียนในปี 2558 นี้

น.ส. วันนิสา เจริญศิริกาญจน์ ม.4/3 เลขที่ 15

จากการที่ได้อ่านข้อความเบื้องต้นและศึกษาประเด็นทั้ง 5 แล้ว ทำให้รู้ว่าประเทศกัมพูชามีความเจริญกว้าหน้าที่รวดเร็วและมีการพัฒนาบ้านเมืองของตนเองในทางที่ดีขั้น ไม่ว่าจะในเรื่องการท่อผ้า เกษตรกรรม รวมถึงสิ่งที่ค้นพบในประเทศ เช่น น้ำมัน แก๊สธรรมชาติ และแร่ธาตุต่างๆ มากมาย แถมยังเคยตกเป็นเมืองขึ้นของประเทศฝรั่งเศสและญี่ปุ่นจึงทำให้ด้านภาษาของประเทศกัมพูชาอยู่ในระดับที่ดีและยังเป็นต่อในเรื่องของการสื่อสารที่จะค้าขายและขยายผลต่อการพัฒนาประเทศได้อีกมาก ดังนั้นประเทศกัมพูชาจึงสามารถพัฒนาประเทศได้อีกมากถ้ามีคณะบริหารที่ดีที่จะพัฒนาประเทศให้ดียิ่งขั้น เพื่อจะเตรียมตัวที่จะเข้าสู้ประเทศอาเซียนในปี 2558 นี้

น.ส.เนตรนภา สง่าเกิน ชั้นม.4*3 เลขที่ 39

ประเทศกัมพูชามีความขัดแย้งกับไทยสาเหตุเกิดจากการสู้รบระหว่างทหารไทยกะกัมพูชาที่ปราสาทเขาพระวิหาร ซึ่งปัญหานี้ก็น่าจะมีผลทางด้านการค้าระหว่างประเทศ และอาจจะมีผลกระทบต่อความสัมพันธ์ระหว่างประเทศได้

นายนัสพร เอี่ยมสะอาด ม.4/9 เลขที่ 45

 เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาประกอบด้วย  1) เว็บไซต์ที่เกี่ยวกับราชอาณาจักรกัมพูชา 2) เอกสาร หนังสือเกี่ยวกับภูมิภาคอาเซียน และราชอาณาจักรกัมพูชา 3) แบบบันทึกข้อมูล  4) แบบสัมภาษณ์ข้อมูลความคิดเห็นเกี่ยวกับการพัฒนาเศรษฐกิจของราชอาณาจักรกัมพูชา

น.ส. ธัญวลัย โพธิพิพิธ ม.4/3 เลขที่ 19

        กัมพูชา ชื่ออย่างเป็นทางการว่า ราชอาณาจักรกัมพูชา (เขมร: ព្រះរាជាណាចក្រកម្ពុជា พฺระราชาณาจกฺรกมฺพุชา "พระราชาณาจักรกัมพูชา") เป็นประเทศตั้งอยู่ในส่วนใต้ของคาบสมุทรอินโดจีนในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีพื้นที่ 181,035 ตารางกิโลเมตร

มีพรมแดนทิศตะวันตกติดต่อกับประเทศไทย ทิศเหนือติดกับประเทศไทยและลาว ทิศตะวันออกและทิศใต้ติดกับเวียดนาม และทิศตะวันตกเฉียงใต้ติดอ่าวไทย

เศรษฐกิจ

เกษตรกรรม อยู่บริเวณที่ราบภาคกลาง รอบทะเลสาบเขมร พืชที่สำคัญคือ ข้าวเจ้า ยางพารา พริกไทย
การประมง บริเวณรอบทะเลสาบเขมร เป็นแหล่งประมงน้ำจืดที่สำคัญที่สุดในภูมิภาค
การทำป่าไม้ บริเวณเขตภูเขาทางภาคเหนือ โดยล่องมาตามแม่น้ำโขง
การทำเหมืองแร่ ยังไม่ค่อยสำคัญ
อุตสาหกรรม เป็นอุตสาหกรรมขนาดย่อมส่วนใหญ่เป็นโรงสีข้าว โรงเลื่อย รองเท้า




นางสาว ลลิตา เหลืองชลธาร ม.4/4 เลขที่ 33

     ประเทศกัมพูชาเคยตกเป็นเมืองขึ้นของฝรั่งเศสและญี่ปุ่นประชากรจึงสามารถใช้ภาษาในการสื่อสารได้ในระดับดีเป็นปัจจัยที่เอื้อต่อการพัฒนาเศรษฐกิจ กัมพูชามีความคืบหน้าอย่างรวดเร็วในด้านเศรษฐกิจและทรัพยากรมนุษย์ประเทศกัมพูชาได้มีหนึ่งในบันทึกเศรษฐกิจที่ดีที่สุดในเอเชีย ประเทศกัมพูชามีความอุดมสมบรูณ์ในทางด้านทรัพยากรและในด้านเศรษฐกิจ 

เกษตรกรรม อยู่บริเวณที่ราบภาคกลาง รอบทะเลสาบเขมร พืชที่สำคัญคือ ข้าวเจ้า ยางพารา พริกไทย
การประมง บริเวณรอบทะเลสาบเขมร เป็นแหล่งประมงน้ำจืดที่สำคัญที่สุดในภูมิภาค
การทำป่าไม้ บริเวณเขตภูเขาทางภาคเหนือ โดยล่องมาตามแม่น้ำโขง
การทำเหมืองแร่ ยังไม่ค่อยสำคัญ
อุตสาหกรรม เป็นอุตสาหกรรมขนาดย่อม ส่วนใหญ่เป็นโรงสีข้าว โรงเลื่อย รองเท้า

ด้านการปกครองยังมีปัญหาความขัดแย้งทำให้มีการบริหารประเทศไม่มีเท่าที่ควร ค่ะ


นายคัมภีร์ นิยมพลอย ม.4/3 เลขที่ 26

 เมื่อได้อ่านจึงสรุปได้ว่า ราชอาณาจักรกัมพูชา ต้องตกอยู่ในสภาวะสงครามกลางเมืองยาวนานหลายปี  ในการบูรณะประเทศหลังสงครามกลางเมือง กัมพูชามีความคืบหน้าอย่างรวดเร็วในด้านเศรษฐกิจและทรัพยากรมนุษย์ประเทศกัมพูชา โดยมีอัตราการเติบโตทางเศรษฐกิจเฉลี่ย 6.0% เป็นเวลานาน 10 ปี 

มีการพบแหล่งน้ำมันและแก๊สธรรมชาติใต้น่านน้ำอาณาเขตของกัมพูชา และเมื่อการขุดเจาะเชิงพาณิชย์ รายได้จากน้ำมันสามารถมีผลต่อเศรษฐกิจกัมพูชาประเทศนี้เคยตกเป็นเมืองขึ้นของฝรั่งเศสและญี่ปุ่น 

ประชากรจึงสามารถใช้ภาษาในการสื่อสารได้ในระดับดีเป็นปัจจัยที่เอื้อต่อการพัฒนาเศรษฐกิจ สภาพทางภูมิศาสตร์ ยังเต็มไปด้วยทรัพยากรธรรมชาติที่อุดมสมบูรณ์ 

และจากที่สรุปไว้ข้างต้น ทำให้รู้ว่าประเทศกัมพูชามีความเจริญก้าวหน้าและมีการพัฒนาบ้านเมืองในทางที่ดีขึ้น และยังเคยตกเป็นเมืองขึ้นของประเทศฝรั่งเศสและญี่ปุ่นจึงทำให้ด้านภาษาของประเทศกัมพูชาอยู่ในระดับที่ดีและยังเป็นต่อในเรื่องของการสื่อสารที่จะค้าขายและขยายผลต่อการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ

นางสาว ธนาภา วงษ์ปัญญา ม.4/3 เลขที่ 29

เมื่อได้อ่านจึงสรุปได้ว่า ราชอาณาจักรกัมพูชา ต้องตกอยู่ในสภาวะสงครามกลางเมืองยาวนานหลายปี  ในการบูรณะประเทศหลังสงครามกลางเมือง กัมพูชามีความคืบหน้าอย่างรวดเร็วในด้านเศรษฐกิจและทรัพยากรมนุษย์ประเทศกัมพูชา โดยมีอัตราการเติบโตทางเศรษฐกิจเป็นเวลานาน 10 ปี 

มีการพบแหล่งน้ำมันและแก๊สธรรมชาติใต้น่านน้ำอาณาเขตของกัมพูชา และเมื่อการขุดเจาะเชิงพาณิชย์ รายได้จากน้ำมันสามารถมีผลต่อเศรษฐกิจกัมพูชา  กัมพูชาเคยตกเป็นเมืองขึ้นของฝรั่งเศสและญี่ปุ่น 

ประชากรจึงสามารถใช้ภาษาในการสื่อสารได้ในระดับดีเป็นปัจจัยที่เอื้อต่อการพัฒนาเศรษฐกิจและสภาพทางภูมิศาสตร์ ยังเต็มไปด้วยทรัพยากรธรรมชาติที่อุดมสมบูรณ์ 

จากที่สรุปไว้ ทำให้รู้ว่าประเทศกัมพูชามีความเจริญก้าวหน้าและมีการพัฒนาบ้านเมืองในทางที่ดีขึ้น ด้านภาษาของประเทศกัมพูชาอยู่ในระดับที่ดีและยังเป็นต่อในเรื่องของการสื่อสารที่จะค้าขายและขยายผลต่อการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ


น.ส.ฐิติมา แสวงทอง ม.4/3 เลขที่ 17

ข้อมูลเบื้องต้นของราชอาณาจักรกัมพูชา คือกัมพูชาต้องตกอยู่ในสภาวะสงครามกลางเมืองยาวนานหลายปี  ในการบูรณะประเทศหลังสงครามกลางเมือง กัมพูชามีความคืบหน้าอย่างรวดเร็วในด้านเศรษฐกิจและทรัพยากรมนุษย์ประเทศกัมพูชาได้มีหนึ่งในบันทึกเศรษฐกิจที่ดีที่สุดในเอเชีย โดยมีอัตราการเติบโตทางเศรษฐกิจเฉลี่ย 6.0% เป็นเวลานาน 10 ปี ภาคสิ่งทอ เกษตรกรรม การก่อสร้าง เสื้อผ้าและการท่องเที่ยวที่เข้มแข็งได้นำไปสู่การลงทุนจากต่างชาติและการค้าระหว่างประเทศ ใน พ.ศ. 2548 มีการพบแหล่งน้ำมันและแก๊สธรรมชาติใต้น่านน้ำอาณาเขตของกัมพูชา และเมื่อการขุดเจาะเชิงพาณิชย์เริ่มขึ้นใน พ.ศ. 2546 รายได้จากน้ำมันสามารถมีผลต่อเศรษฐกิจกัมพูชาอย่างลึกซึ้ง  การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นที่ส่งผลต่อการพัฒนาเศรษฐกิจของราชอาณาจักรกัมพูชาคือประเทศนี้เคยตกเป็นเมืองขึ้นของฝรั่งเศสและญี่ปุ่นประชากรจึงสามารถใช้ภาษาในการสื่อสารได้ในระดับดีเป็นปัจจัยที่เอื้อต่อการพัฒนาเศรษฐกิจ สภาพทางภูมิศาสตร์ ยังเต็มไปด้วยทรัพยากรธรรมชาติที่อุดมสมบูรณ์ เช่น ป่าไม้ ก๊าซธรรมชาติ บ่อน้ำมันและแร่ธาตุ จำนวนมากซึ่งจะเป็นปัจจัยสำคัญต่อการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศอย่างมั่นคง ส่วนเรื่องการศึกษา การเมืองการปกครอง สังคมและวัฒนธรรม เป็นปัญหาที่ท้าทายคณะผู้บริหารประเทศซึ่งหากแก้ไขได้จะเป็นปัจจัยที่เอื้ออำนวยในการพัฒนาประเทศอย่างดีต่อไป
การวิเคราะห์ข้อมูลความคิดเห็นต่อการพัฒนาเศรษฐกิจของราชอาณาจักรกัมพูชา บุคคลทั่วไปร้อยละ 79.46 เห็นว่าการพัฒนาเศรษฐกิจของราชอาณาจักรกัมพูชา น่าจะเป็นไปในทิศทางที่ดี สอดคล้องกับสมมติฐานที่ตั้งไว้

น.ส.เรณุกา เบี้ยแก้วกระจ่าง ม.4/3 ลขที่ 32

เรียน อาจารย์  อภินันท์ สีสันต์

  การแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับประเทศกัมพูชา
              จากที่ได้อ่านประเทศกัมพูชามีแนวโน้มการพัฒนาเศรษฐกิจไปในทิศทางที่ไม่ดี 
 ถึงแม้ว่าประเทศกัมพูชามีความอุดมสมบรูณ์ในทางด้านทรัพยากรและในด้านเศรษฐกิจ    ปัจจัยที่ส่งผลดีประเทศกัมพูชาซึ่งเคยเคยตกเป็นเมืองขึ้นของประเทศอื่นจึงสามารถใช้ภาษาในการสื่อสารได้จึงเป็นผลดีต่อการพัฒนาเศรษฐกิจระหว่างประเทศกัมพูชาก็ตามแต่ในด้าการศึกษามีปัญหาที่ไม่สามารถจัดหาอาคารสถานที่วัสดุและอุปกรณ์ให้กับโรงเรียนได้และการทีี่จะได้เรียนนั้นคนที่มีฐานะถึงจะได้เรียน ดังนั้นผู้บริหารประเทศของกัมพูชาจึงไม่มีคามสามารถพอในการบริหารจัดการประเทศกัมพูชาให้ไปในทางที่ดีได้ จึงทำให้การศึกษาในประเทศกัมพูชาไม่พัฒนาและไม่มีคนที่จะเติบโตไปพัฒนาประเทศต่อไปได้ถ้าหากยังไม่สามารถแก้ไขปัญหาการศึกษานี้ได้ การเมืองการปกครองของประเทศกัมพูชาเกิดการขัดแย้งระดับผู้นำของพรรค เกิดพรรคนิยมเจ้าขึ้นมาใหม่คือเจ้าจักรพงศ์ที่ตั้งใจจะเข้าร่วมกับสมรังสี ขยายฐานเสียงระดับรากหญ้ามีคนสนับสนุนพอควรคือพวกมีแนวคิดก้าวหน้าเช่นนักศึกษา 
มีการขยายอำนาจพรรคไปตามตั้งสาขาพรรคในหมู่บ้าน มีนโยบายอุดช่องโหว่ของพรประชาชนกัมพูชาคือคอรัปชั่นจะพัฒนาเสรีภาพและคุณภาพชีวิต การเมืองต่อไปเมื่อไม่มีพรรคฝ่ายค้านแล้วพรรคแต่ละพรรคคงจะทำงานแบ่งปันผลประโยชน์ระหว่างพรรคมากกว่าที่จะทำงานที่มีคุณภาพและเป็นประโยชน์ต่อประชาชน




นางสาววิลาสินี วัดพ่วง ม.4/3 เลขที่ 23

ภูมิอากาศในกัมพูชาเป็นเช่นเดียวกับประเทศอื่นๆในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ที่เป็นเขตร้อนชื้น มีฤดูฝนและฤดูแล้ง ในฤดูฝนจะมีมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ พัดมาจากมหาสมุทรอินเดียพาฝนมาตก และในฤดูแล้งจะมีมรสุมพัดในทิศทางตรงกันข้าม ที่นำอากาศแห้งแล้งมาให้ ลักษณะอากาศในทะเลสาบเขมรอุณหภูมิสูงสุด-ต่ำสุดโดยเฉลี่ยอยู่ระหว่าง 25- 28°C ในฤดูร้อนอาจสูงถึง 38 °C ได้ ค่าเฉลี่ยปริมาณน้ำฝนทั้งปีอยู่ระหว่าง 1,000 - 1,500 มิลลิเมตร ฝนตกหนักมากทางตะวันออกเฉียงใต้และตามแนวเทือกเขาทางตะวันตกเฉียงใต้ ค่าความชื้นเฉลี่ยทั้งปีค่อนข้างสูง

  การกำหนดเขตแดนของกัมพูชาเกิดขึ้นในสมัยที่เป็นอาณานิคมของฝรั่งเศส แนวชายแดน 800 กิโลเมตรระหว่างไทย-กัมพูชาใช้สันปันน้ำของเทือกเขาพนมดงรักเป็นเส้นเขตแดน ทางด้านเหนือ ส่วนการแบ่งเขตระหว่างกัมพูชากับลาวและเวียดนาม เป็นผลมาจากการตัดสินใจของฝรั่งเศสระหว่างการปกครองอินโดจีนฝรั่งเศสและไม่ได้ใช้เส้นเขตแดนตามธรรมชาติ ทำให้ยังมีข้อโต้แย้งในปัจจุบันเกี่ยวกับเส้นเขตแดนระหว่างกัมพูชา-เวียดนามรวมทั้งกัมพูชา-ไทย

นางสาวนฤมล ประจวบวัน ม.4/3 เลขที่ 20

      ประเทศกัมพูชา หรือชื่อทางการว่า “ราชอาณาจักรกัมพูชา” (Kingdom of Cambodia) มีพรมแดนทางทิศใต้จดกับอ่าวไทย ทางทิศตะวันตกติดกับประเทศไทย ทางทิศเหนือติดกับประเทศไทยและลาว ทางทิศตะวันออกติดกับเวียดนาม มีพื้นที่ 181,035 ตารางกิโลเมตร ประชากรกว่า 14.8 ล้านคน (สำรวจในปี พ.ศ. 2554) มีศาสนาพุทธนิกายเถรวาทเป็นศาสนาประจำชาติ ซึ่งมีประชากรกัมพูชานับถือประมาณ 95% ชนกลุ่มน้อยในประเทศมีทั้งชาวเวียดนาม ชาวจีน ชาวจาม  และชาวเขากว่า 30 เผ่า ปัจจุบันกัมพูชาแบ่งเขตการปกครองเป็น 20 จังหวัด มีเมืองหลวง คือ พนมเปญ ซึ่งเป็นศูนย์กลางการเมือง เศรษฐกิจและวัฒนธรรมของกัมพูชา มีภาษาทางการ คือ ภาษาเขมรในด้านเศรษฐกิจ

      กัมพูชามีทรัพยากรสำคัญ คือ ข้าวเจ้า ยางพารา พริกไทย ปลาน้ำจืด โดยมีทะเลสาบเขมร (โตนเลสาบ) เป็นแหล่งประมงน้ำจืดที่สำคัญที่สุดในภูมิภาค  อีกทั้งยังมีป่าไม้อุดมสมบูรณ์มากที่สุด แต่หลังจากที่รัฐบาลเปิดให้สัมปทานป่าไม้กับบริษัทเอกชนจากประเทศอินโดนีเซีย มาเลเซีย และญี่ปุ่น ส่งผลให้ป่าไม้ในกัมพูชาได้ลดลงอย่างมาก สกุลเงินของประเทศกัมพูชา คือ เรียล

น.ส.กาญจน์ติมา เนื้อแตงเย็น ม.4/3 เลขที่ 16

            ราชอาณาจักรกัมพูชา เมืองหลวงคือ กรุงพนมเปญ (Phnom Penh) กัมพูชาเป็นประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีพรมแดนทางทิศใต้จรดกับอ่าวไทย ทางทิศตะวันตกติดกับประเทศไทย ทางทิศเหนือติดกับประเทศไทยและลาว ทางทิศตะวันออกติดกับเวียดนาม กัมพูชาเป็นอดีตประเทศอาณานิคมของฝรั่งเศสในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เพียงแค่ประเทศเดียวเท่านั้นที่มีการปกครองด้วยระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐ ธรรมนูญ

           กัมพูชาตั้งอยู่กลางภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีพรมแดนทิศเหนือติดกับประเทศไทย (จังหวัดอุบลราชธานี ศรีสะเกษ สุรินทร์ และบุรีรัมย์) และลาว (แขวง อัตตะปือและจำปาสัก) ทิศตะวันออกติดเวียดนาม (จังหวัดกอนทูม เปลกู ซาลาย ดั๊กลั๊ก ส่องแบ๋ เตยนิน ลองอาน ด่งท๊าบ อันซาง และเกียงซาง) ทิศตะวันตกติดประเทศไทย (จังหวัดสระแก้ว จันทบุรี และตราด) และทิศใต้ติดอ่าวไทย ขนาด กว้าง 500 กิโลเมตร ยาว 450 กิโลเมตร มีพื้นที่ทั้งหมด 181,035 ตารางกิโลเมตร หรือมีขนาดประมาณ 1 ใน 3 ของประเทศไทย เส้นเขตแดนโดยรอบประเทศยาวประมาณ 2,000 กิโลเมตร โดยมีเส้นเขตแดนติดต่อกับประเทศไทยยาว 798 กิโลเมตร

น.ส.ฐิติรัตน์ นิยมไทย เลขที่ 4 ม.4/3

เรียน คุณครู อภินันท์ สีสันต์

           ดิฉันคิดว่าการพัฒนาเศรษญกิจของประเทศกัมพูชานั้นอยู่ในเกณฑ์ที่ดีพอสมควร หลังจากที่กัมพูชาต้องตกอยู่ในภาวะของสงครามกลางเมืองอยู่เป็นเวลายาวนาน     ประเทศกัมพูชาก็สามารถที่จะพัฒนาประเทศให้เป็นไปในทางที่ดีขึ้นได้ โดยการส่งออกสินค้าของประเทศกัมพูชาไปยังประเทศต่างๆ เช่น ข้าว ยางพารา ปลา ไม้แปรรูป เป็นต้น ด้านทรัพยากรที่สมบูรณ์ของประเทศทำให้มีการลงทุนจากต่างชาติเข้ามามากมาย  จึงสามารถเพิ่มรายได้ให้แก่ประเทศกัมพูชาได้เป็นอย่างมาก อีกทั้งประเทศกัมพูชาเคยตกเป็นเมืองขึ้นของ ฝรั่งเศส และญี่ปุ่น ซึ่งเป็นประโยชน์ต่อการสื่อสาร ด้วยเหตุนี้ประชากรในประเทศจึงสามารถนำประโยชน์นี้ไปใช้ในการติดต่อสื่อสารทางด้านเศรษฐกิจได้เป็นอย่างดี เหลือเพียงแต่ด้านการศึกษา การปกครอง สังคมและวัฒนธรรมเพียงเท่านั้นที่ยังต้องรอการพัฒนาจากบุคคลที่มีความสามารถ ถ้าปัญหาเหล่านี้สามารถที่จะแก้ไขและพัฒนาให้ดีขึ้นได้ ดิฉันคิดว่าการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศกัมพูชาจะมีแนวโน้มไปในทางที่ดีมากอย่างแน่นอน

น.ส.อำนาจชนะกิจ เทพดำรงค์ เลขที่ 35 ม.4/3

เรียน คุณครู อภินันท์ สีสันต์

     จากการที่ได้ศึกษาประเทศกัมพูชา พบว่า การพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศกัมพูชาเป็นไปในทิศทางที่ไม่ค่อยดี แต่ถึงแม้ว่าประวัติความเป็นมาจะไม่สามารถเปลี่ยนแปลงได้ แต่ทางด้านการศึกษาและการเมือง การปกครองสามารถพัฒนาให้เป็นไปในทางที่ดีได้

     ประวัติความเป็นมา ประเทศกัมพูชาเคยตกเป็นอาณานิคมของประเทศฝรั่งเศส ทำให้ระบบการปกครองของกัมพูชาเปลี่ยนไปเป็นระบบคอมมิวนิสต์ ทำให้เกิดเหตุการณ์ฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ชาวกัมพูชากันเองมากกว่า 2 ล้านกว่าคน

     สภาพภูมิประเทศ  ดินแดนนั้นอุดมสมบูรณ์ไปด้วยทรัพยากรธรรมชาติไม่ว่าจะเป็นป่าเขา แม่น้ำ และทะเลสาบ กัมพูชาจะใช้ความได้เปรียบด้านลักษณะทางกายภาพที่เปรียบเสมือนไข่แดงของอาเซียน นำความสมบูรณ์พูนสุขมาให้ชาวกัมพูชา

     การศึกษา ประเทศกัมพูชามีระบบการศึกษาเหมือนกับประเทศไทย แต่การศึกษาของประเทศกัมพูชาจะเข้าถึงเฉพาะคนที่อาศัยอยู่ในเมือง ส่วนคนในชนบทยังไม่ได้รับการศึกษาเท่าที่ควร

     สภาพเศรษฐกิจ อยู่บนพื้นฐานของสินค้าทางการเกษตร ซึ่งสร้างรายได้สำคัญให้กับประเทศ แต่ก็สร้างปัญหาการทำลายป่า จนต้องจำกัดจำนวนการส่งออก โดยลดการให้สัมปทาน

     สังคม และวัฒนธรรม กัมพูชามีศิลปวัฒนธรรม โบราณสถานที่สำหรับการท่องเที่ยวเกือบทั่วโลก สามารถนำเงินเข้าสู่ประเทศและสร้างรายได้ต่อเนื่องมากกว่าการส่งออกสินค้าทางการเกษตรอย่างแน่นอน

     การเมือง การปกครอง กัมพูชาได้เปลี่ยนการปกครองจากระบอบกษัตริย์ ภายใต้กฎหมายรัฐธรรมนูญมาเป็นระบอบประชาธิปไตยที่มีกษัตริย์เป็นประมุขในปัจจุบันแล้ว แต่ยังไม่สมบูรณ์เท่าที่ควร

นาย ภมรพล น้อยเกตุ ม, 4/3 เลขที่ 5

เรียน คุณครู อภินันท์ สีสันต์   

จากข้อมูลข้างต้นประเทศกัมพูชา ประเทศกัมพูชาเคยตกเป็นเมืองขึ้นเคยตกเป็นเมืองขึ้นของประเทศญี่ปุ่นและฝรั่งเศสและสามารถฟื้นตัวได้อย่างรวดเร็วการตกเป็นเมืองขึ้นประเทศมหาอำนาจนั้นมีผลพลอยได้คือประชากรสามารถเรียนรู้ภาษาแล้วสามารถนำมาใช้สื่อสารทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศ ประเทศกัมพูชายังมีแหล่งทรัพยากรธรรมชาติที่อุดมสมบูรณ์ โดยเฉพาะน้ำ ป่าไม้และแร่ธาตุต่างๆแต่การที่มีทรัพยากรธรรมชาติที่อุดมสมบูรณ์นั้นแต่ยังขาดการศึกษาที่สามารถนำทรัพยากรธรรมชาตินั้นมาแปรเปลี่ยนเป็นเม็ดเงินเพื่อนำเงินไปบริหารด้านต่างๆ ภายในประเทศเช่น ระบบสาธารณูปโภค เพื่อรับมือกับการเข้าสู่ประชาคมอาเซียนในปี 2558

น.ส.หทัยรัตน์ แจ่มจำรัส เลขที่ 31 ม.4/3

เรียน    คุณครู  อภินันท์

     

น.ส.หทัยรัตน์ แจ่มจำรัส เลขที่ 31 ม.4/3

เรียน คุณครู อภินันท์ สีสันต์

        จากการที่ได้ศึกษาค้นคว้าประวัติความเป็นมาของประเทศกัมพูชาพบว่า การพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศกัมพูชาเป็นไปในทิศทางที่ไม่ดีเท่าที่ควร ถึงแม้ว่าประวัติความเป็นมาของประเทศกัมพูชาจะไม่สามารถพัฒนาได้แต่การศึกษาก็สามารถพัฒนาไปในทางที่ดีขึ้นได้  สภาพทางสังคมวิทยา ประเทศกัมพูชาเคยตกเป็นเมืองขึ้นของนิคมประเทศ ฝรั่งเศส และญี่ปุ่น ทำให้ระบบการปกครองของกัมพูชาเปลี่ยนไปเป็นระบบคอมมิวนิสต์เลยทำให้มีการฆ่าล้างเผาพันธุ์ทำให้ผู้คนเสียชีวิตมากขึ้น  สภาพภูมิประเทศ ประเทศกัมพูชาเป็นดินแดนที่อุดมสมบูรณ์ไปด้วยทรัพยากรธรรมชาติไม่ว่าจะเป็น แม่น้ำ ป่าเขา ทะเลสาบ หนองบึง ชายทะเลที่มีเกาะแก่งที่สวยงาม กัมพูชานำความอุดมสมบูรณ์มาทำเป็นรายได้ให้กับประเทศ  การศึกษาของประเทศกัมพูชา ยังมีการต่อสู่แย่งชิงอำนาจกันเองจนสูญสิ้นผู้คนไปมากมาย จึงต้องเสียเวลาไปกับการฟื้นฟูประเทศ สภาพเศรษฐกิจของประเทศกัมพูชาอยู่บนพื้นฐานของสินค้าทางการเกษตร ซึ่งรายได้สำคัญของประเทศคือการทำลายป่าไม้ จนต้องกำจัดจำนวนการส่งออก  สังคมและวัฒนธรรม กัมพูชาปัจจุบันเป็นแหล่งกำเนิดของวัฒนธรรมศาสนา โบราณสถานและแหล่งสถาปัตยกรรมที่ผสมผสานระหว่างศาสนาฮินดูและศาสนาพุทธ สามารถนำเงินเข้าสู่ประเทศและสร้างรายได้ให้กับประเทศได้เป็นอย่างดี  การเมืองการปกครอง กัมพูชาปกครองในระบอบกษัตริย์ ภายใต้กฎหมายรัฐธรรมนูญ จึงเป็นราชอาณาจักรที่มีกษัตริย์สืบทอดกันมายาวนานา จนเปลี่ยนมาเป็นยุคพระราชาผู้ทรงเป็นผู้บำบัดทุกข์บำรุงสุขของประชาชนในสมัยกรุงพนมเปญ กัมพูชาเคยเปลี่ยนระบอบการปกครองเป็นสาธารณรัฐช่วงหนึ่ง แต่ต่อมาได้มีการแต่งตั้งนายเฮงสัมรินเป็นประธานาธิบดี เพียงเวลา 12 ปี ต้องกลับมาเป็นระบอบกษัตริย์อีกครั้งหนึ่ง โดยกษัตริย์กัมพูชาทรงเป็นทั้งประมุขของประเทศและเป็นผู้นำในการบริหารประเทศ ในฐานะนายกรัฐมนตรีร่วมคนที่ 1 ด้วย


น.ส. ณัฐธิดา อู่ตะเภา ม.4/3 เลขที่ 28

เรียน  คุณครู  อภินันท์   สีสันต์

         จากการศึการศึกษาข้างต้นพบว่าประเทศกัมพูชาเป็นประเทศหนึ่งที่อยู่ในอาเซียนเเละซึ่งมีสภาพภูมิศาสตร์เป็นพื้นที่ราบลุ่ม    ด้านสภาพภูมิอากาศประเทศกัมพูชาเป็นเขตอากาศร้อนซึ่งมีอุณหภูมิไม่ตำกว่า  20  องศา  เเละมีฝนตกอย่างสมำเสมอ  ด้านทรัพยากรธรรมชาติเป็นพื้นที่ที่มีเทือกเขาอยู่มากและพื้นที่ส่วนใหญ่เป็นป่าอุดมสมบูรณ์ไปด้วยป่าไม้ยืนต้นและไม้มีค่าต่างๆ  และมีสัตว์ป่าอาศัยอยู่มากมาย   ด้านการเมืองและการปกครองเมื่อก่อนประเทศกัมพูชามีการปกครองเเบบกษัตริย์ภายใต้กฏหมายรัฐธรรมนูญเเละภายหลังมีการเปลี่ยนระบอบการปกครองเป็นการปกครองแบบระบอบประชาธิปไตยภายใต้กฏหมายรัฐธรรมนูญ   และส่วนสภาพทางเศรษฐกิจมีการเเย่งชิงอำนาจวึ่งก่อให้เกิดการสูญเป็นอย่างมาก   ประเทศกัมพูชามีสินค้าทางการเกษตรมากมาย  จำพวกธัญพืชที่สร้างรายได้อย่างมากให้กับประเทศแต่มีการทำลายทางธรรมชาติจึงมีการจำกัดการส่งออกสินค้าของประเทศกัมพูชาประเทศกัมพูชามีนโยบายมุ่งหวังเพื่อการพัฒนาด้านเศรษฐกิจและการท่องเที่ยวและพัฒนาศักยภาพทางเศรษฐกิจและการเกษตรและ ส่งเสริมและสนับสนุนการลงทุนจากต่างประเทศ


นางสาว ชลินพร ควรรณสุ ชั้น ม๔/๗ เลขที่ ๒๕

จากการศึกษาพบว่าประเทศกัมพูชามีการเตรียมตัวพัฒนาเข้าสู่ประชาคมอาเซียนโดยมีการปรับโครงสร้างพื้นฐานในประเทศ ประเทศกํมพูชามีลักษณะที่เด่นในเรื่องของประชากรเป็นจำนวนมากแต่มีฝีมือที่ด้อยคุณภาพและประเทศกัมพูชามีสภาพพื้นที่ที่เหมาะแก่การเกษตรและมีที่ลาบลุ่มแม่นำ้เป็นส่วนใหญ่ดีขึ้นจากเดิมเพื่อก้าวเข้าสู่อาเซียนอย่างมีคุณภาพประเทศกัมพูชามีการพัฒนาเศรษกิจให้จากการศึกษาเบื้องต้นของดิฉันคิดว่าสภาพการพัฒนาทางเศรษกิจของประเทศกัมพูชาน่าจะเป็นไปในทิศทางที่ไม่ค่อยดีเท่าที่ควรซึ่งสอดคล้องกับสมมุติฐานที่ดิฉันตั้งไว้

นาย มงคล ขุนพินิจ เลขที่ 15 ชั้น 4/11

ประเทศกัมพูชาเป็นประเทศที่มีประชากรแรงงานมากแต่ไร้คุณภาพ ประเทศกัมพูชามีการพัฒนาเศรษฐกิจโดยการสร้างปะปา ไฟฟ้า สร้างถนน เพื่อพัฒนาบริหารประเทศให้ดีขึ้น ประเทศกัมพูชานิยมทำการเกษตรเป็นส่วนใหญ่ เพราะมีพื้นที่เหมาะแก่การเพาะปลูก ประเทศกัมพูชามีปัญหาในการขาดแคลน ทรัพยากรต้นไม้เนื่องจากมีผู้บุกรุกลักลอบตัดต้นไม้จำนวนมากการสันนิษฐานเบื้องต้น กระผมคิดว่าประเทศกัมพูชามีการพัฒนาไปในทางที่ไม่ดีซึ่งไม่สอดคล้องกับที่ผมตั้งสมมุติฐานไว้

ธิติวุฒิ ส่งบุญ ม.4/3 เลขที่ 30

เรียน คุณครู อภินันท์ สีสันต์

   จากที่ได้ศึกษาข้อมูลเบื้องต้น และศึกษาจากการค้นคว้าจองอาจารย์ ในความคิดเห็นของกระผม มีความคิดเห็นว่า ประเทศกัมพูชามีการปกครองเป็นระบอบคอมมิวนิสต์ต่อมามีการพัฒนาและมีการ พัฒนาการปกครองระบอบประชาธิปไตรแบบรัฐสภามีพระมหากษัตริย์เป็นประมุขภายใต้ รัฐธรรมนูญส่วนใหญ่ประชากรของประเทศกัมพูชาจะมีการประกอบอาชีพ เกษตรกร ลูกจ้างโรงงานและแรงงานก่อสร้าง เป็นส่วนมากแต่เดิมกัมพูชาเคยเป็นเมืองขึ้นของประเทศฝรั่งเศสและมีรายได้ใน ประเทศต่ำเนื่องจากผลกระทบด้านการเมืองการปกครอง และความต้องการสินค้าก็มีมากขึ้นตามไปด้วยจึงทำให้มีรายได้เข้ามาภายใน ประเทศมีจำนวนน้อย แต่ปัจจุบันมีการพัฒนาเศรษฐกิจมากขึ้น และ มีการประกอบอาชีพที่ดีขึ้น แต่ประเทศกัมพูชามีแหล่งทรัพยากรที่สมบูรณ์ ที่เต็มไปด้วยแก๊สธรรมชาติ ป่าไม้ บ่อน้ำมันและแร่ธาตุ จึงทำให้ประเทศกัมพูชาเสี่ยงต่อการถูกประเทศมหาอำนาเข้ามาลงทุนภายในประเทศ ทำให้ทรัพยากรธรรมชาตินั้นมีแนวโน้มที่จะลงลงอย่าต่อเนื่อง จึงทำให้ประเทศกัมพูชามีรายได้ที่จะเข้ามาในประเทศมากขึ้น แต่ทรัพยากรภายในประเทศกัมพูชาก็จะน้อยลงเรื่อยๆ ผกผันกับรายได้ที่จะเข้ามาภายในประเทศ


น.ส.สุทธิญา ประวันเต เลขที่ 12 ม.4/3

การพัฒนาของประเทศกัมพูชา พัฒนาดีขึ้นหลังจากการเกิดสงครามกลางเมืองสงบลง ด้านเศรษฐกิจพัฒนาได้อย่างรวดเร็วเนื่องจากเคยตกเป็นเมืองขึ้นของประเทศฝรั่งเศสและญี่ปุ่นประชากรจึงสามารถภาษาของทั้ง2ประเทศในการสื่อสารค้าขายกับต่างประเทศได้อย่างดี สภาพทางภูมิก็มีปัจจัยหลายอย่างที่ช่วยหนุนในเศรษฐกิจของประเทศดีขึ้นเพราะมีทรัพยากรธรรมชาติที่สมบูรณ์เป็นจำนวนมาก แต่ปัญหาที่เกิดขึ้นในเรื่องเขาพระวิหารทำให้ความสัมพันธ์ไทยกับกัมพูชาที่มีนักลงทุนรายใหญ่ไปทำการค้ามีผลกระทบต่อผลประโยชน์ที่จะได้กลับมาจากกัมพูชาน้อยลงทั้งด้านการเกษตร อุตสาหกรรม และธุรกิจการคมนาคม และปัญหาขาดแรงงานที่มีทักษะทำให้ไม่เป็นที่ต้องการในการจ้างงาน ด้านการเมืองการปกครอง วัฒนธรรม เป็นปัญหาที่ประชากรทุกคนต้องรวมกันแก้ไขภายใต้ผู้บริหารประเทศจะสามารถหาวิธีแก้ไขที่ดีได้ และผลโดยรวมทำให้ประเทศกัมพูชาเป็นประเทศที่กำลังพัฒนาเป็นไปในทางที่ดีขึ้น

นาย ธนดล ไชยสงคราม ชั้น ม.4/3 เลขที่ 45

จากการที่อ่านบทความข้างต้นแล้วศึกษาของประเทศกัมพูชาพบว่าประวัติความเป็นมาของประเทศกัมพูชาเคยตกเป็นอาณานิคมของประเทศของฝรั่งเศสอาจไม่ค่อยดีนักแต่ปัจจุบันทำให้ประเทศของกัมพูชามีการพูดการสื่อสารได้หลายภาษามากขึ้น ประเทศกัมพูชามีการปกครองแบบประเทศไทยคือพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ประเทศกัมพูชามีทรัพยากรที่ดีทำให้เศรษฐกิจที่ดีมีการพัฒนาส่งออกสินค้าให้แก่ประเทศที่ใหญ่ของโลกเช่น ประเทศ ญี่ปุ่น จีน เกาหลีใต้ และก็ สหรัฐอเมริกา สินค้าที่ส่งออกได้แก่ ข้าว ยางพารา ไม้แปรรูป เสื้อผ้าสำเร็จรูป จึงทำให้เศรษฐกิจของกัมพูชาดีขึ้น แต่ข้อเสียของเศรษฐกิจก็คือ มีแรงงานที่ไม่ค่อยมีทักษะขาดการศึกษาจึงทำให้มีการพัฒนาเศรษฐกิจอาจช้าแต่ไม่มีการขัดแย้งทางด้านเศรษกิจต่อประเทศอื่นๆ สรุปได้ว่า ประเทศกัมพูชามีการพัฒนาเศรษฐกิจไปในทิศทางที่ดีขึ้นอย่างแน่นอน

นายคัมภีร์ นิยมพลอย ชั้นม.4/3 เลขที่26

เรียน อ.อภินันท์ สีสันต์

การแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับประเทศกัมพูชา

จากที่ได้อ่านข้อมูลเบื้องต้นของประเทศกัมพูชา มีสภาพทางภูมิศาสตร์ เป็นที่ราบรุ่มส่วนใหญ่ใช้เป็นแหล่งเพาะปลูกที่สำคัญของประเทศกัมพูชา ประเทศกัมพูชาอุดมสมบูรณ์ไปด้วยป่าไม้ แม่น้ำ มีภูมิอากาศเป็นเขตร้อน มักประสบปัญหาเกี่ยวกับภัยแล้งมาตลอด ประเทศกัมพูชาเคยตกเป็นอาณานิคมของ ฝรั่งเศส และญี่ปุ่น ประชากรจึงมีการใช้ภาษาอยู่ในระดับที่ดีและหลากหลาย ประเทศกัมพูชา ได้พัฒนาเศรษฐกิจ และทรัพยากรมนุษย์ได้อย่างรวดเร็วแต่มีอุปสรรค ประเทศมีประชากร 14.3 ล้านคน เพิ่มเฉลี่ยร้อยละ 2 ต่อปี ส่วนภาษาที่ใช้ทั่วไป ได้แก่ อังกฤษ ฝรั่งเศส จีน เวียดนาม และไทย ประชากรส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ ประเทศกัมพูชา มีภาวะเศรษฐกิจพัฒนาไปอย่างช้าๆ และต้องเผชิญปัญหาเศรษฐกิจในภูมิภาคเอเชีย สินค้าส่งออกที่เป็นรายได้หลักของประเทศ คือ สินค้าเกษตรกรรม และคาดว่าเศรษฐกิจของประเทศกัมพูชาจะขยายตัวเพิ่มขึ้นเพราะมีนรายได้จากการส่งออกสินค้าเพิ่มขึ้นและสม่ำเสมอ และมีการศึกษาไม่ค่อยดีถึงแม้ประชากรประเทศนี้จะมีการใช้ภาษาอยู่ในระดับที่ดี จาการศึกษา ดังกล่าว พ[ว่าประเทศกัมพูชา จะมีการพัฒนาเศรษฐกิจต่อไปเรื่อยๆ แต่มีทิศทางที่ดีขึ้น แต่มีความล่าช้า เช่นกัน

นางสาวธนาภา วงษ์ปัญญา ชั้นม.4/3 เลขที่29

เมื่อได้อ่านจึงสรุปได้ว่า ราชอาณาจักรกัมพูชา ต้องตกอยู่ในสภาวะสงครามกลางเมืองยาวนานหลายปี  ในการบูรณะประเทศหลังสงครามกลางเมือง กัมพูชามีความคืบหน้าอย่างรวดเร็วในด้านเศรษฐกิจและทรัพยากรมนุษย์ประเทศกัมพูชา โดยมีอัตราการเติบโตทางเศรษฐกิจเป็นเวลานาน 10 ปี 

มีการพบแหล่งน้ำมันและแก๊สธรรมชาติใต้น่านน้ำอาณาเขตของกัมพูชา และเมื่อการขุดเจาะเชิงพาณิชย์ รายได้จากน้ำมันสามารถมีผลต่อเศรษฐกิจกัมพูชา  กัมพูชาเคยตกเป็นเมืองขึ้นของฝรั่งเศสและญี่ปุ่น 

ประชากรจึงสามารถใช้ภาษาในการสื่อสารได้ในระดับดีเป็นปัจจัยที่เอื้อต่อการพัฒนาเศรษฐกิจและสภาพทางภูมิศาสตร์ ยังเต็มไปด้วยทรัพยากรธรรมชาติที่อุดมสมบูรณ์ 

ด้าการศึกษามีปัญหาที่ไม่สามารถจัดหาอาคารสถานที่วัสดุและอุปกรณ์ให้กับโรงเรียนได้และการทีี่จะได้เรียนนั้นคนที่มีฐานะถึงจะได้เรียน 

จากที่สรุปไว้ ทำให้รู้ว่าประเทศกัมพูชามีความเจริญก้าวหน้าและมีการพัฒนาบ้านเมืองในทางที่ดีขึ้น ด้านภาษาของประเทศกัมพูชาอยู่ในระดับที่ดีและยังเป็นต่อในเรื่องของการสื่อสารที่จะค้าขายและขยายผลต่อการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ เพื่อรับมือกับการเข้าสู่ประชาคมอาเซียนในปี 2558


นางสาวธนาภา วงษ์ปัญญา ชั้นม.4/3 เลขที่29

เรียน อ.อภินันท์ สีสันต์

การแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับประเทศกัมพูชา


เมื่อได้อ่านจึงสรุปได้ว่า ราชอาณาจักรกัมพูชา ต้องตกอยู่ในสภาวะสงครามกลางเมืองยาวนานหลายปี  ในการบูรณะประเทศหลังสงครามกลางเมือง กัมพูชามีความคืบหน้าอย่างรวดเร็วในด้านเศรษฐกิจและทรัพยากรมนุษย์ประเทศกัมพูชา โดยมีอัตราการเติบโตทางเศรษฐกิจเป็นเวลานาน 10 ปี 

มีการพบแหล่งน้ำมันและแก๊สธรรมชาติใต้น่านน้ำอาณาเขตของกัมพูชา และเมื่อการขุดเจาะเชิงพาณิชย์ รายได้จากน้ำมันสามารถมีผลต่อเศรษฐกิจกัมพูชา  กัมพูชาเคยตกเป็นเมืองขึ้นของฝรั่งเศสและญี่ปุ่น 

ประชากรจึงสามารถใช้ภาษาในการสื่อสารได้ในระดับดีเป็นปัจจัยที่เอื้อต่อการพัฒนาเศรษฐกิจและสภาพทางภูมิศาสตร์ ยังเต็มไปด้วยทรัพยากรธรรมชาติที่อุดมสมบูรณ์ 

ด้าการศึกษามีปัญหาที่ไม่สามารถจัดหาอาคารสถานที่วัสดุและอุปกรณ์ให้กับโรงเรียนได้และการทีี่จะได้เรียนนั้นคนที่มีฐานะถึงจะได้เรียน 

จากที่สรุปไว้ ทำให้รู้ว่าประเทศกัมพูชามีความเจริญก้าวหน้าและมีการพัฒนาบ้านเมืองในทางที่ดีขึ้น ด้านภาษาของประเทศกัมพูชาอยู่ในระดับที่ดีและยังเป็นต่อในเรื่องของการสื่อสารที่จะค้าขายและขยายผลต่อการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ เพื่อรับมือกับการเข้าสู่ประชาคมอาเซียนในปี 2558


นาย ศุภนิมิต สุขอินทร์

เรียน คุณครู อภินันท์ สีสันต์


การแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับประเทศกัมพูชา

จากที่ได้ศึกษาข้อมูลเบื้องต้น และ ศึกษาจากการค้นคว้าของอาจารย์. ในความคิดเห็นของกระผม มีความเห็นว่า การพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศกัมพูชานั้น อาจเป็นไปในทิศทางที่ดีอย่างที่ได้ศึกษาไปในข้างต้น แต่สิ่งหนึ่งที่กัมพูชายังไม่เห็นถึงความสำคัญ คือด้านการศึกษา และด้านสาธารณูปโภคของประชาชน เพราะสิ่งนี้คือจุดเริ่มต้นที่ดี ของการพัฒนาประเทศต่างๆ จุดแข็งของกัมพูชาคือทรัพยากร แต่ผมก็อดคิดไม่ได้ว่า ทรัพยากรที่มากมายแต่อยู่ในพื้นที่ของประเทศที่เล็กๆ ที่เรียกว่าเยอะ มันจะมีสักเพียงใด ดังนั้นถ้าหากภาครัฐไม่มีการจัดการเกี่ยวกับความรู้ของประชากร รวมถึงด้านสาธารณูประโภคต่างๆ ทำให้มีแนวโน้มอย่างสูงที่ประกรจะมีการใช้ทรัพยากรของกัมพูชาที่มีอยู่อย่างจำกัด อาจหมดไปก่อนที่ คนในประเทศจะรู้ตัว. หรือก่อนที่จะมีการจัดการที่ชัดเจนอย่างแท้จริง อาจจะเป็นอย่างไทยที่เคยมีทรัพยากรป่าไม้ล้นเหลือแต่ ณ ตอนนี้กลับเหลือเพียงน้อยนิด อิทธิพลจากการเป็นประเทศที่ตกเป็นอาณานิคมของประเทศอื่นๆ ถือได้ว่ามีผลกระทบอย่างมาก ต่อลักษณะ นิสัย ที่เรียกได้มีความเกียจคร้านในการงานพอสมควร และอีกหนึ่งปัจจัยที่ทำให้เป็นเช่นนั้นก็เหมือนกับไทยคือ ในน้ำมีปลา ในนามีข้าว เมือ่ถึงคราวที่ยังสบายก็ยังคงไม่ดิ้นรน แต่เมื่อใดที่สิ่งที่เคยคิดว่ามันจะมีอยู่ ทำให้สะดวกสบายเสมอมาหมดไปเรื่อยๆ จนถึงกระนั้น การแก้ปัญหาที่ปลายเหตุอาจสายไปเสียก่อน. ดังนั้นการให้ความรู้หรือใส่ใจในการศึกษา ของประชาชนจึมีความสำคัญที่สุด และไม่น่าจะเป็นสิ่งที่เป็นจุดอ่อนของประเทศ.ด้านสาธารณูปโภคก็เช่นกัน เพราะเมื่อประชาชนอยู่อย่างลำบาก การเบียดเบียนต่อทรัพยากร โดยประชาชนที่ไม่มีความรู้ จะมีผลเสียอย่างรุนเรง ต่อประเทศ.เมื่อศึกษาปัญหาของกัมพูชาแล้วก็อดคิดไม่ได้ว่าประเทศไทยเราก็แทบไม่ได้ต่างกัน.เป็นที่น่าเป็นห่วงอย่างยิ่งที่เรายังต้องเปลี่ยนหลักสูตรการศึกษาและระบบการประเมินอยู่ทุกๆปี.

น.ส.จิระประภา จันทร์เนาว์ ม.4/3 เลขที่37

การแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับประเทศกัมพูชา

เรียน คุณครู อภินันท์ สีสันต์ 

     จากการที่ได้ศึกษาข้อมูลของประเทศกัมพูชา มีความเห็นเเละข้อมูลว่า ประเทศกัมพูชานั้นได้กำเนิดอาณาจักร   เขมรขึ้นบริเวณจุดที่เเม่น้ำโขงเเละเเม่น้ำซาปไหลมาบรรจบกัน กัมพูชาจะบูชาพระศิวะเเละสร้างศิลปะขึ้นมาเป็นของตนเองเเละมีกษัตริย์ปกครองสืบต่อกันมา กัมพูชามีประชากรประมาณ 14,805,000 คน ประชากรส่วนใหญ่จะอาศัยอยู่ในเขตชนบท ราษฎรนั้นมีเชื้อสายเขมร ศาสนาเเละความเชื่อของประเทศกัมพูชานั้นเริ่มต้น    จากการนับถือศาสนาพราหมณ์ ลัทธิฮินดู สภาพเศรษฐกิจของกัมพูชานั้นจะเสียเวลาไปกับการต่อสู้เเย่งชิงอำนาจกันและสูญเสียผู้คนไปมากมายจึงเสียเวลาไปกับการฟื้นฟูประเทศจึงมีเศรฐกิจที่ไม่ค่อยดีนัก กัมพูชาจะมีพืชพันธุ์ธรรมชาติ ป่าไม้ ที่อุดมสมบูรณ์ มีเเหล่งน้ำมัน มีวัฒนธรรมที่งดงาม ล้ำค่า การเมืองการปกครองของประเทศกัมพูชาจะปกครองในระบอบกษัตริย์ ภายใต้กฏหมายรัฐธรรมนูญ จึงเป็นราชอาณาจักรที่มีกษัตริย์สืบทอดมายาวนานคล้ายกับประเทศไทย ความสัมพันธ์กับต่างประเทศในปี ค.ศ.1999 กัมพูชาได้สมัครเข้าเป็นสมาชิกกลุ่มประเทศอาเซียนเป็นลำดับที่ 10 เเละมีความสัมพันธ์กับประเทศต่างๆค่อนข้างดี กัมพูชาได้พยายามเเสดงให้โลกเห็นว่าประเทศกัมพูชาก็มีเเหล่งท่องเที่ยวเเละวัฒนธรรมากมายที่ก็ไม่เเพ้ชาติใดในโลกเหมือนกัน สินค้าที่ส่งออกที่สำคัญคือ สิ่งทอ ไ้ม้ซุง ยางพารา ข้าว กัมพูชาตั้งอยู่ใจคาบสมุทรอินโดจีน ระบบการศึกษาของประเทศกัมพูชานั้นไม่ค่อยดี จึงทำให้คนในประเทศกำพูชานั้นขาดความรู้เเละการศึกษา

การแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับประเทศกัมพูชา

เรียน คุณครู อภินันท์ สีสันต์ 

        เมื่อได้อ่านจึงสรุปได้ว่า ราชอาณาจักรกัมพูชา ต้องตกอยู่ในสภาวะสงครามกลางเมืองยาวนานหลายปี  ในการบูรณะประเทศหลังสงครามกลางเมือง กัมพูชามีความคืบหน้าอย่างรวดเร็วในด้านเศรษฐกิจและทรัพยากรมนุษย์ประเทศกัมพูชา โดยมีอัตราการเติบโตทางเศรษฐกิจเป็นเวลานาน 10 ปี 

มีการพบแหล่งน้ำมันและแก๊สธรรมชาติใต้น่านน้ำอาณาเขตของกัมพูชา และเมื่อการขุดเจาะเชิงพาณิชย์ รายได้จากน้ำมันสามารถมีผลต่อเศรษฐกิจกัมพูชา  กัมพูชาเคยตกเป็นเมืองขึ้นของฝรั่งเศสและญี่ปุ่น 

ประชากรจึงสามารถใช้ภาษาในการสื่อสารได้ในระดับดีเป็นปัจจัยที่เอื้อต่อการพัฒนาเศรษฐกิจและสภาพทางภูมิศาสตร์ ยังเต็มไปด้วยทรัพยากรธรรมชาติที่อุดมสมบูรณ์ 

ด้าการศึกษามีปัญหาที่ไม่สามารถจัดหาอาคารสถานที่วัสดุและอุปกรณ์ให้กับโรงเรียนได้และการทีี่จะได้เรียนนั้นคนที่มีฐานะถึงจะได้เรียน 

จากที่สรุปไว้ ทำให้รู้ว่าประเทศกัมพูชามีความเจริญก้าวหน้าและมีการพัฒนาบ้านเมืองในทางที่ดีขึ้น ด้านภาษาของประเทศกัมพูชาอยู่ในระดับที่ดีและยังเป็นต่อในเรื่องของการสื่อสารที่จะค้าขายและขยายผลต่อการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ เพื่อรับมือกับการเข้าสู่ประชาคมอาเซียนในปี 2558


นาย สัตถา อุดมศิริ ม.4/3 เลขที่7

เรียน คุณครู อภินันท์  สีสันต์

        จากข้อมูลที่คุณครูได้สรุปไว้ ณ เบื้องต้นนั้นและจากการค้นคว้าหาข้อมูลจากตัวกระผมนั้น อาจจะสรุปเป็นข้อความสั้นๆ ได้ว่า ดังนี้ เมื่อสมัยก่อนนั้นประเทศกัมพูชาได้ตกเป็นอาณานิคมของประเทศฝรั่งเศส แต่ในภายหลังได้พ่ายแพ้ในสงครามอินโดจีนครั้งที่หนึ่ง จึงได้มอบเอกราชคืนให้แก่ประเทศกัมพูชา ในการบูรญะหลังสงครามกลางเมืองหลายทศวรรษ ได้ทำให้ประเทศกัมพูชานั้นได้มีความคืบหน้าไปได้อย่างรวดเร็วทั้งในด้านของเศรษฐกิจและทรัพยากรมนุษณ์ ทั้งในเรื่องของ การทำสิ่งทอ ด้านเกษตร ก่อสร้าง ด้านเสื้อผ้าและด้านการท่องเที่ยวที่ได้แข้มแข็งขึ้นจนนำไปสู่การลงทุนของประเทศมหาอำนาจต่างๆ ซึ่งประเทศกัมพูชานีั้นได้มีการค้นพบ ทั้งน้ำมันและกก๊าซธรรมชาติ ซึ่งเป็นตัวนำในทางด้านเศรษฐกิจอีกด้วย

จากที่ได้กล่าวมานั้น ผมได้มีความคิดเห็นว่า ประเทศกัมพูชานั้นถึงเมื่อก่อนไม่ค่อยที่จะมีอะไรที่ดีนัก แต่ภายหลังได้ปรับปรุงหลายสิ่งหลายอย่างซึ่งไปในทิศทางที่ดีขึ้น ทัั้งในทางด้านของเศรษฐกิจที่เราสามารถเห็นได้ชัด โดยภาพรวมของประเทศกัมพูชานั้นจะอยู่ในระดับที่ดี เพื่อรับมือในการเข้าสู่ประชาคมอาเซียนในปี พ.ศ. 2558 นี้อีกด้วย

นาย สัตถา อุดมศิริ ม.4/3 เลขที่7

เรียน คุณครูอภินันท์ สีสันต์

     จากข้อมูลของคุณครูที่ได้สรุปไว้ ณ เบื้องต้นและการศึกษาค้นคว้าที่ข้าพเจ้าได้สืบค้นข้อมูลเพิ่มเติมนั้น สามารถสรุปเป็นข้อคว่ามสั้นๆ ได้ว่าดังนี้ เมื่อสมัยก่อนประเทศกัมพูชาได้ตกเป็นอาณานิคมของประเทศฝรั่งเศส และเป็นอาณานิคมของประเทศญี่ปุ่น ภายหลังสงครามโลกครั้งที่2จบลง ประเทศกัมพูชาจึงได้คืนความเป็นเอกราช ภายหลังได้เกิดความขัดแย้งขึ้นภายใน ประเทศได้ตกอยู่ภายใต้การปกครองของเขมรแดง จนในถายหลังได้มีการขับไล่เขมรแดงออกไป ทำให้เกิดการยุติสงครามกกลางเมือง จึงได้เกิดการบรูณาประเทศขึ้นใหม่ซึ่งไปในทิศทางที่ดีขึ้นทั้งทางด้านเศรษฐกิจและทรัพยากรมนุษย์ที่เจริญเติบโตไปได้อย่างรวดเร็ว ทั้งด้านการทำสิ่งทอ ก่อสร้าง เกษตร เสื้อผ้าและด้านของการท่องเทีี่ยว จนเป็นที่หมายปองของประเทศต่างๆที่จะเข้ามาลงทุนในประเทศนี้ ทั้งทางด้านทรัพยากรต่างๆเช่น น้ำมันและก๊าซธรรมชาติ ที่ค้นพบเจอในประเทศนี้อีกด้วย

จากความเห็นของผม   สามารถสรุปได้ดังนี้ว่า ถึงแม้เมื่อก่อนประเทศกัมพูชานั้นค่อนข้างที่จะไม่ค่อยดีนัก แต่ในภายหลังได้แก้ไขและพัฒนาซึ่งไปในทิศทางที่ดีขึ้น จะเห็นได้จากการขยายตัวในทางด้านของเศรษกิจ โดยถาพรวมของประเทศกัมพูชาจะอยู่ในฐานะที่ดี ครับ

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท