"แร่เหล็ก"คือที่มาของความแกร่งที่แตกต่างของ พระนาดูน กับ พระรอดลำพูน


พระนาดูนแกร่งโดยการเคลือบของสารละลายเหล็กไม่ใช้ความร้อน ในระบบน้ำดูน (น้ำที่ไหลมาจากในดินลึก) แต่พระรอดใช้ความร้อนในการเผาจนเหล็กหลอมละลายเป็นตัวเชื่อมเนื้อดินที่เหลือ

ขณะที่ผมพยายามทำความเข้าใจภูมิปัญญาในการสร้างพระรอดลำพูนให้แกร่งด้วยระบบความร้อน

ผิวพระรอดที่กร่อนจนเห็นเนื้อในที่แข็งเหมือนหินจากการเผา

ผมก็เริ่มหันมามองว่า การเกิดความแกร่งโดยไม่ใช้ความร้อนก็น่าจะมี จึงนึกถึงพระกรุนาดูน ที่จังหวัดมหาสารคาม ที่มีความแกร่งโดยการเคลือบของสารละลายเหล็กไม่ใช้ความร้อน ในระบบน้ำดูน (น้ำที่ไหลมาจากในดินลึก) แต่พระรอดใช้ความร้อนในการเผาจนเหล็กหลอมละลายเป็นตัวเชื่อมเนื้อดินที่เหลือ

ที่เป็นความเหมือนที่แตกต่างอย่างน่าทึ่งจริงๆครับ

 

ภาพหน้าตัดของพระกรุพระธาตุนาดูน

สังเกตการซึมเคลือบของเหล็กจากนอกเข้าใน

ภาพรอยปาดผิวด้านหลัง

ผ่านเนื้อที่เหล็กเคลือบ จนเห็นเนื้อเดิมของพระกรุนาดูน

เพิ่งคิดออกเหมือนกัน จึงนำมาแลกเปลี่ยนครับ

หมายเลขบันทึก: 489649เขียนเมื่อ 31 พฤษภาคม 2012 01:17 น. ()แก้ไขเมื่อ 22 มิถุนายน 2012 00:43 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-อนุญาตแบบเดียวกันจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (2)

Now we know there is some iron ore deposit in จังหวัดมหาสารคาม.

Pssssh, not too loud. There might be foreign mining companies looking and waiting to exploit us again.

ในน้ำใต้ดินทุกแห่งมีเหล็กเสมอครับ อิอิ

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท