ฟังบรรยาย "เคล็ดไม่ลับ... การประเมินตนเอง" จากงาน HA Forum 2012


ไปฟังบรรยายได้เติมพลัง เติมไฟที่จะพัฒนางาน

 

ในงาน HA Forum 2012  เช้าวันที่ 15 มีนาคม 2555 ที่ห้อง Grand Diamon มีการบรรยายเรื่อง "เคล็ดไม่ลับ...การประเมินตนเอง" วิทยากรโดย   

       นพ.อนุวัฒน์    ศุภชุติกุล

      พญ.ปิยวรรณ  ลิ้มปัญญาเลิศ

 

      ก้าวไปในห้อง มืดค่ะ ไฟดับ วิทยากรใช้โทรโข่งในการบรรยาย เป็นอีกบรรยากาศ น่าเห็นใจมากค่ะขณะเดียวกันก็ชื่นชมในความพยายาม ท่านต้องใช้เสียงมากเหมือนกัน สื่อการสอนก็ใช้ไม่ได้ตลอดชั่วโมง

      เป็นเรื่องที่น่าสนใจมาก ข้าพเจ้าจดบันทึกเท่าที่ได้ ขาดตกบกพร่องอย่างไรท่านที่เข้ามาอ่านเสริมได้นะคะ ยินดีค่ะ

  

 

เวลาที่สรพ.ไปเยี่ยมสำรวจ ลงไปดูหน้างาน

ถามคำถาม

ไม่ต้องการจับผิดแต่ดูว่ารู้สึกอย่างไรกับข้อมูลชุดนี้

หน้างาน  ผู้ปฏิบัติ รู้ไหม ความเสี่ยง ...ทำอย่างไร

เกิดความสี่ยงขึ้น หากหน้างาน บุคลากร Sense มากกับเรื่องที่หยิบเข้ามา ทีมฟังก็จะรู้สึกสบายใจ

กลุ้มใจมากกว่าถ้า Slide สวยงาม  ตอบไม่ได้อะไรเสี่ยง

 

ให้ความสำคัญกับคุณค่า  ความหมาย วิธีคิด ปฏิบัติ ข้อคิดเห็น

ของหน้างาน

ตัวชี้วัด   บริบท   มีปัญหาอะไร  คุยกัน ค้นหาข้อมูล  มีรายงานความเสี่ยง   การเข้าถึงผู้รับบริการ

ตั้งเป้าพัฒนา จะได้ตัวชี้วัด สอดคล้องกับปัญหาที่เกิดขึ้น

เช่น อัตราการลดระยะเวลารอคอยในแผนกฉุกเฉิน  อัตราการเข้า ICU

พัฒนาตรงปัญหา

หลักการทำแบบประเมินตนเอง เราต้องรู้บริบทของเรา

หารากเหง้าของปัญหา  RCA (Root cause analysis)

กระบวนการดูแลผู้ป่วย

ตั้งเป้าหมาย    เอามาเป็นตัวชี้วัด  ได้ผลลัพธ์

 

ตามรอย จะพัฒนากระบวนการอะไร

การเก็บตัวชี้วัด   ตัวชี้วัดกระตุ้นให้ทำ  มีเป้าหมายพัฒนา

ทำเพื่อตอบตนเอง

เทียบเคียงกับอะไร

เป็นการยั่วยุ ในทางที่ดี ไม่ต้องกังวล

 

score 5 ระดับ

1. เก็บตัวชี้วัดไม่ครอบคลุม

2.  เก็บครอบคลุม

3. นำเอาตัวชี้วัดที่เก็บไปใช้ประโยชน์      ใช้ประโยชน์จากตัวชี้วัด      = ผ่าน

4.  Level ดี เกินมาตรฐาน

5. มีการ Benmark

 

วัดอะไร

1. clinical  outcome

  โรคนี้ใช้เวลา......... บอกคุณภาพการดูแล

clinical  outcome  ปัจจุบัน   อดีตเป็นอย่างไร

พิจารณาเป้าหมาย

Acute และ   Chronic  Case  มี outcome อะไร เช่น

    1. ไม่มีภาวะแทรกซ้อน

    2. ฟื้นตัวรวดเร็ว

2. Process 

 ในการดูแลพื้นฐานของการทำ Evidence base

ใน guideline ทำได้มากน้อยแค่ไหน

ดู Effective

ตัวชี้วัดอื่นเอามาวัดได้รวดเร็ว  ครอบคลุม   Effectiveness

ประเมินรายโรค

 

เข้าถึงการดูแลต่อเนื่อง   Score ตัวเอง

Indicator อะไร

มองให้ชัดเจน  ครอบคลุม indicator

มีโอกาสพัฒนาเฉพาะเรื่องมากขึ้น

Clinical  tracer  highlight

เช่น ดูแลเบาหวาน ดูบริบทเรา   วิสัยทัศน์ ขับเคลื่อนสู่ความเป็นเลิศ

 

เอาจริงกับวิสัยทัศน์?

ขั้นพื้นฐานก็สำคัญ

ผู้บริหารสูง กลาง ต้องขยับ

พื้นฐาน หน้างานต้องเข้าใจ

ทุกคนมีความไว

 

เครื่องมือ

   มีสมุดบันทึกเล่มเล็กๆ

      ทางบวก - ของดีชมเพิ่ม

     ทางลบ-โอกาสพัฒนา

      1.   บันทึกทุกวัน   เขียนมากไวต่อการพัฒนา   นำมาคุยกัน บอกเล่าทุกสัปดาห์

ได้มาก เรื่องอะไร indicatorอะไร ...รู้

เรื่อง   Incident อะไร ..รู้

     2. รวบรวมการทบทวนเข้าด้วยกัน

 

ตามรอยดูในพื้นที่จริง  ทำได้จริง ดู ทบทวน ดูภาพรวม ตามรอย

มีผลงานคนรุ่นเก่าเอามาต่อยอด

ทั้งงานที่ทำและรับงานคนอื่นเอามาต่อยอด  ส่งผ่าน

มีความสุข  รับ  ปล่อยไป

มีความสุขในการทำงาน

เกิดปัญหาเอามาทบทวน ของเขา ของเรา  เราเปลี่ยนได้  ค้นหาสิ่งที่เขามีอยู่ สอดคล้อง  เรียนรู้ ตั้งคำถาม  ได้ประเมินตนเอง

CQI ดึงมาประเมินตนเอง

 

ส่งเวร  ทำอะไร กลับไปทำ

1 สัปดาห์ตามไปดู

มีผลลัพธ์ไปลงในแบบประเมินตนเอง

เช่น ผู้ป่วยตกเตียง ไปทำอะไรต่อ?

กระบวนการดูแลผู้ป่วย  เอาไปตอบในแบบประเมินตนเอง  แทรกมาตรฐาน

ส่งเวร ปัญหา ตรงมาตรฐานไหม

 

Hospital Profile ดูบริบท ทิศทาง วิสัยทัศน์ พันธกิจ ข้อจำกัด

บริหาร ทิศทางไปทางไหน ผลลัพธ์คร่าวๆ

ใช้เชื่อมต่อแบบประเมินตนเอง

 

จากการตรวจเยี่ยม ข้อมูลโรงพยาบาลที่พบ

   1. แบบประเมินตนเอง SPA เรื่องเดียวกันคนละตัวเลข

   2.Hospital Profile

ตัวชี้วัดไม่เชื่อมโยงบริบทที่พบ เกิดจาก

 Hospital Profile

 การประเมินตนเอง self  assessment   ยุทธศาสตร์   คนละทีมทำ

การประเมินตนเอง โรงพยาบาลทำอะไรได้ดีแล้ว

ระบบไหนทำได้ดี ระบบไหนเป็นโอกาสพัฒนา

 

เวลาสรพ.อ่านเอกสารจากโรงพยาบาล มักตั้งคำถามกันเองว่า อ่านแล้วรู้สึกอย่างไร  มองเห็นอะไรที่ทำได้ดี   สร้างการเรียนรู้

มองคนละมุม  มีข้อสังเกต1..2...3.. คุณแลกเปลี่ยนได้  เรียนรู้ร่วมกัน ตั้งคำถาม ติดตาม แลกเปลี่ยนกัน

เครื่องมือมาก

การใช้มาตรฐานแบบเชื่อมโยง

 Key  word อะไร

เวลาพัฒนา ต้องสอดคล้องกับเป้าหมาย มาตรฐาน ยุทธศาสตร์

เห็นโอกาสพัฒนา   ตามรอย

หน้างาน   ทบทวนตัวชี้วัด  จับประเด็น ทำแผนเดียวกัน

 

ไปฟังบรรยายได้เติมพลัง เติมไฟที่จะพัฒนางาน

กลับมาอ่านหนังสือเล่มนี้เพิ่มเติมค่ะ

 

 

 

 

 

หมายเลขบันทึก: 483878เขียนเมื่อ 1 เมษายน 2012 06:35 น. ()แก้ไขเมื่อ 13 ธันวาคม 2012 16:49 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-อนุญาตแบบเดียวกันจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (6)

สวัสดีค่ะพี่แก้ว ขอบคุณมากค่ะ ขอบคุณสำหรับดอกไม้กำลังใจค่ะ

ขอบคุณสำหรับดอกไม้กำลังใจจากคุณหนูรีค่ะ

เติมไฟ เติมกำลังใจ....ขอบคุณค่ะพี่อุ้ม

สวัสดีค่ะคุณหมออ้อทพญ.ธิรัมภา ขอบคุณสำหรับกำลังใจค่ะ ยินดีที่ได้บอกเล่า เติมไฟ เติมกำลังใจ เตรียมพร้อมสำหรับการ Re- accreditation ค่ะ

ขอบคุณน้องnamshaและน้องทิมดาบสำหรับดอกไม้กำลังใจค่ะ

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท