บันทึก..การเป็นวิทยากรและนำเสนอผลงาน


วิทยากร

9 สิงหาคม 2554

วิทยากร R2R วิทยากรอภิปรายประสบการณ์ในการทำวิจัยสถาบัน
โดยเฉพาะการพัฒนางานประจำสู่งานวิจัย (R2R) ตั้งแต่เวลา  13.30-15.00 น. ณ ห้อง 109 (ชั้น 1) วิทยาลัยการปกครองท้องถิ่น

 

29 สิงหาคม 2554

นำเสนอผลงานวิจัย เรื่องการนำดนตรีบำบัดมาใช้ลดปวดและวิตกกังวลในผู้ป่วยมะเร็งที่มีความปวด

 

วันที่ 31 สิงหาคม 2554 เข้าร่วมหาหัวข้อวิจัย R2R รศ นพ สุรพล วีระศิริ เป็นวิทยากร พาเราหาประเด็นทำวิจัย ที่ KKu จัด

 

วันที่ 10 กันยายน 2554

กลุ่มวิจัย จัดประชุม การเสริมพลังอำนาจในผู้ป่วยเรื้อรัง โดยเชิญ ดร ศิริอร สินธุ มาบรรยายช่วงเช้าและนำเสนอโครงร่างวิจัยช่วงบ่ายเพื่อให้อาจารย์ให้ข้อเสนอแนะ จัดในเวลา 8.45-16.00 น.

 

 

 วันที่ 12 กันยายน 2554 เป็นวิทยากร ที่ รพ.  มหาราช เชียงใหม่ ช่วงเช้า ช่วงบ่าย ลปรร การทำ R2R กับหน่วยวิจัย รพ มหาราชเชียงใหม่ด้วย

 


1. การบริหารจัดการและการดำเนินงานAPN และปัจจัยสนับสนุนในโรงพยาบาลศรีนครินทร์

2. การสร้างผลงานAPN และการเสริมสร้างแรงจูงใจในการดำเนินการบทบาท
 APN   ในโรงพยาบาลศรีนครินทร์

 

 

13 กันยายน 2554

ร่วมนำเสนอผลงานในงาน KKU show&share 3 เรื่อง และ

ร่วม ลปรร ในห้อง โกทูโน

 

 ทีมงานได้รางวัล 1 เรื่อง

 

14 กันยายน 2554

เป็นวิทยากร เรื่อง วิธีการนำดนตรีและการกดจุดมาใช้เพื่อลดปวดในผู้ป่วยมะเร็ง
มีแถมการนวดหน้าให้เต่งตึงอีก

Large_p1060538aa1

เคยไปเรียนนวดแผนจีนตั้งแต่ ปี 2549 ได้นำมาใช้สอนการนวดเพื่อลดปวด

 

วันที่ 16 กันยายน 2554

ศ นพ สมบูรณ์ เทียนทองและตัวเราเอง  มาช่วยพวกเราหา research question ของงานประจำให้เป็นงานวิจัย R2R น่าจะได้ทำได้หลายเรื่องที่ดีดี

 

Large_rq1a

 

17 กันยายน 2554

สอนนักศึกษา มมส เรื่อง KM in chronic care and APN case manager

 

นักศึกษาฝึก KM เรื่อง การอ่าน journal อย่างไรให้ง่ายๆ

 

 

 

วันนี้ 18 กันยายน 2554นั่งเขียนโครงร่างวิจัย R2R               

ศึกษาประสิทธิผลการกดจุดโดยใช้สายรัดข้อมือเพื่อป้องกันอาการคลื่นไส้อาเจียนในผู้ป่วยมะเร็งที่ได้รับยาเคมีบำบัด 

 

บันทึกงานที่ผ่านมา

แก้ว..

 

หมายเลขบันทึก: 461422เขียนเมื่อ 18 กันยายน 2011 20:59 น. ()แก้ไขเมื่อ 23 มิถุนายน 2012 12:24 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-อนุญาตแบบเดียวกันจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (8)

มาชื่นชมการทำงานคึกคักคะ งานวิจัย การกดจุดโดยใช้ สายรัดข้อมือ น่าสนใจมาก ใช่ที่กดจุด neiguan (จำได้อยู่จุดเดี๊ยวนี้แหละ) หรือเปล่าคะ

 www.homebackpainacupress.com

การใช้สายรัด เป็นการลองตัดผลจาก "I shall please" เพื่อดูผลจากการกดตรงตำแหน่งเท่านั้น..ไอเดียเยี่ยมคะ :-)

ใช่ค่ะคุณหมอ CMPAL

จุด P6 ((Nei-Guan)  หรือ Pericardium 6 เป็นจุดที่ 6
ของเส้นลมปราณ ทำให้เกิดความสมดุลของพลังชีวิตหรือชี่ต่อเส้นเยื่อหุ้มหัวใจ  จิตใจจะสงบ กระเพาะอาหารทำงานปกติและช่วยควบคุมอวัยวะภายใน จะทำให้มีการผ่อนคลายกล้ามเนื้อที่เกี่ยวข้องกับการหายใจ  คือกระบังลมและกล้ามเนื้อหน้าท้อง จึงทำให้ลดคลื่นไส้อาเจียนลงได้   

สิ่งที่พี่แก้วทำ...

มีความหมายและมีคุณค่ามากครับ

  • อรุณสวัสดิ์ครับ
  • กดจุดและการนวด น่าสนใจครับ และน่าจะนำไปใช้ในคนไข้กลุ่มอื่นได้ด้วย เพราะช่วยทำให้ผ่อนคลาย
  • ดีใจที่หน่วยงานมีทีมที่ปรึกษาวิจัยเก่งๆ ทั้งนั้น จะขออนุญาตปรึกษาในโอกาสต่อไปนะครับ

“Hegu” (LI 4) is the most important  analgesic point in the body and is intensively stimulated in all painful  conditions

เรียนรู้ 3 จุด ก่อนนะคะ

พี่แก้วเป็นต้นแบบที่ดี  ให้กับน้องๆ เสมอคะ

 

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท