การพัฒนาเว็บไซต์ : พัฒนาโครงสร้างและเนื้อหาอย่างไร



ลองชมกันดูค่ะ แล้วคุณจะได้เทคนิคไปใช้งาน น่าสนใจทีเดียว

หมายเลขบันทึก: 451891เขียนเมื่อ 31 กรกฎาคม 2011 21:18 น. ()แก้ไขเมื่อ 30 เมษายน 2012 12:23 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-อนุญาตแบบเดียวกันจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (6)

มาให้กำลังใจ ... กลัวจะเหงาครับ ;)...

เท่าที่จับใจความได้คือ

ปัจจุบันแทนที่คนจะเข้าไปในเวบไซต์ดังๆ แล้วใช้เวลา "งมหา" ข้อมูลในนั้นนานๆ

กลายเป็นคนเริ่มเข้าไป "ฉวย" เฉพาะสิ่งที่ตนเองต้องการจาก content page (เวบเล็กๆ บล็อก เวบบอร์ด?)

ดังนั้น คนทำเวบ หรือ บล็อก

- ควรจัดเนื้อหาให้ตรงจุด กับความต้องการกลุ่มเป้าหมาย (how're they coming trough, where're they coming from)

- ควรทำลิงค์ ให้พุ่งตรงไปยังข้อมูลที่เกี่ยวข้องจริงๆ (high relevant)

สมมติว่าจะทำเวบให้ความรู้แพทย์เวชปฎิบัติ.เรื่องอาการเหนื่อย

โดยเริ่มจาก Pathophysiology, epidemiology ของอาการเหนื่อย แล้วโยงไปวินิจฉัย การรักษา ( from top down to base)

ให้เริ่มจากเนื้อหา "มีวิธีใดบ้างให้คนไข้หายเหนื่อย" เพราะนี่คือ ข้อมูล ที่นำพา (oriented) กลุ่มเป้าหมายมาอ่าน ( expand base to out)

ประมาณนี้หรือเปล่า..เดี๋ยวต้องรอคุณมะปรางเปรี้ยวมาชี้แนะ อีกทีคะ

สวัสดีค่ะ คุณหมอ .... จริงๆ อยากขอเรียกพี่หมอ เพราะเริ่มรู้สึกว่าสนิทกันมากขึ้นจากการแลกเปลี่ยนผ่านบล็อกค่ะ ^^

มาเข้าเรื่องเทคนิคที่เค้าเล่ามีจุดที่สำคัญๆ ตามที่พี่หมอสรุปมาด้วยค่ะ และปรางขอเพิ่มเติมสรุปความเพิ่มเติมให้เพื่อให้เข้าใจประเด็นเรื่องเล่ามากขึ้นนะค่ะ

ประเด็นของ VDO นี้คือ ให้เห็นความสำคัญของการออกแบบโครงสร้างข้อมูลในเว็บไซต์ค่ะ คือ ปรางขอขยายความต่อว่า โครงสร้างข้อมูลที่ดีจะมีประโยชน์ต่อการค้นหาข้อมูลและเชื่อมโยงไปยังข้อมูลที่เกี่ยวข้อง อีกทั้งยังจะเป็นประโยชน์ต่อการให้ seach engine เข้ามาเก็บข้อมูลในเว็บไซต์ด้วย โดยผู้เล่าเรื่องเค้าก็ยกตัวอย่างตอนเริ่มต้นให้เห็นเลยว่าส่วนใหญ่แล้วผู้ใช้งานจะไม่ได้เข้ามาเจอเนื้อหาจากหน้าหลัก แต่จะเจอข้อมูลไปยังหน้า content เลย เพราะการอ้างอิงจากบล็อก จากการค้นหาจาก google เป็นต้น โดยสิ่งที่ทำให้ google หาเนื้อหาเจอก็คือ การใช้ keyword และตัวเนื้อหาโดยตรง ซึ่งในส่วนนี้ปรางเปรียบเทียบให้เห็นภาพชัดยิ่งขึ้นคือ คำสำคัญ (tag) ในบันทึกค่ะ

และเทคนิคการให้ได้มาซึ่งโครงสร้างข้อมูลที่ดีนั้น ปรางขอสรุปประเด็นหนึ่งเพิ่มเติมคือ แนวทางในการออกแบบโครงสร้างข้อมูล คือว่า ไม่ควรออกแบบโครงสร้างข้อมูลเหมือน Model พิระมิด ตามที่เข้าใจคือ ไม่ควรออกแบบจากหัวข้อใหญ่ก่อน แต่ให้ทำในแบบตรงกันข้าม ทำจากล่างขึ้นบนนะค่ะ คือ ออกแบบหัวข้อข้อมูลชั้นสุดท้ายก่อน ซึ่งอันนี้จากประสบการณ์ที่ปรางเคยทำก็ต้องเริ่มจากหัวข้อย่อยๆ ก่อน แล้วค่อยมาจัดกลุ่มหัวข้อของข้อมูลอีกครั้ง

ส่วนเทคนิคที่เหลือก็เป็นเทคนิคการหาความสัมพันธ์และการนำเสนอข้อมูล ใจความที่สำคัญก็ตามที่พี่หมอสรุปมาค่ะ ^_^

อ.วัตคะ

ดู vdo แล้วเป็นยังไงบ้าง แวะมาคุยกันเพิ่มเติมได้นะค่ะ

ยินดีคะ น้องมะปรางเปรี้ยว ^_^

ขอบคุณมากคะ ที่ช่วยอธิบายให้เข้าใจยิ่งขึ้น

พี่หมอคะ

มาอ่าน comment ตัวเองอีกที ก็ตกใจความสำคัญอีกอย่างนึงว่า

หากเราสร้างโครงสร้างเว็บไซต์ดี ก็ทำให้ google มีทางเข้าไปเก็บข้อมูลในส่วนต่างๆ ได้ง่ายขึ้นด้วยค่ะ ผู้อ่านก็เข้ามาใช้งานเว็บไซต์ได้ง่ายขึ้นด้วย

มีประโยชน์หลายอย่างเลยค่ะ

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท