นักบริหารกับการพัฒนากฏหมาย


          วันนี้ช่วงบ่ายฟังการบรรยายเรื่อง นักบริหารกับการพัฒนากฏหมาย ได้สรุปสาระได้ดังนี

 

 

1 กระทรวงยุติธรรมในอดีต

1.1 เป็นกระทรวงเหมือนในยุโรป

2 กระทรวงยุติธรรมใน ปัจจุบันและอนาคต

2.1 กระทรวงบริหารงานยุติธรรม

2.2 กระบวนการยุติธรรมและอาญา

3 ความสำคัญของกระบวนการยุติธรรม

4 กระบวนการยุติธรรมที่ดี

4.1 ต้องมีประสิทธิภาพ ในการบังคับใช้กฏหมาย

4.2 คุ้มครองสิทธิเสรีภาพของปชช

4.3 ส่งเสริมปชต.ของปท.

4.4 ตัวอย่างคดีที่แสดงให้เห็น ถึงประสิทธิภาพของ กระบวนการยุติธรรม

4.4.1 คดีนายทานากะ อดีตนายกรัฐมนตรีญี่ปุ่น

4.4.2 คดีประธานาธิปดีนิกสัน

5 ปัญหาของกระบวนการ ยุติธรรมทางอาญาของไทย

5.1 ยังมีปัญหาทั้งเรื่องประสิทธิภาพ และเรื่องการคุ้มครองผู้บริโภค

5.2 การบริหารจัดการ

5.3 ค่าใช้จ่ายสูง

5.4 มีแต่การดำเนินคดีแต่ เกือบจะไม่มีการบริหาร ความยุติธรรม

6 การบริหารงานยุติธรรม

6.1 เป็นเรื่องของการดำเนินคดีขั้น เจ้าพนักงาน

6.2 ควรลดการดำเนินคดีไปสู่ศาล

6.3 องค์กรสำคัญคือองค์การอัยการ

6.4 สถานะองค์กรอัยการในอดีตและปัจจุบัน

6.4.1 เมื่อครั้งเริ่มแรกสังกัด กระทรวงยุติธรรม

7 ปัญหาของกระบวนการยุติธรรม

7.1 เป็นระบบสายพาน

7.2 การแก้ปัญหาต้องมองย้อนกลับ จากราชทัณฑ์ ไปสุ่อัยการ ไปสุ่ศาล

8 แนวคิดในการบริหารงานคดี

8.1 ลดจำนวนผู้ต้องขังในเรือนจำ ทั้งในเชิงปริมาณและคุณภาพ

8.2 การลดปริมาณคดีที่เข้าสู่ สายพานและเพิ่มปริมาณ ออกจากระบบสายพาน

9 การตรวจสอบ ความจริงในคดีอาญา

9.1 เริ่มเมื่อมีการกระทำผิดเกิดขึ้น

9.2 การตรวจสอบความจริงชั้นพนักงาน

9.3 ในชั้นศาล

9.4 การตรวจสอบความจริงก่อนการประทับฟ้อง

10 ภารกิจและบทบาทของศาลและศาลสูง

10.1 ศาลชั้นต้นเป็นศาลพิจารณา

10.2 การปฏิรูปศาลต้องเน้นที่การพิจารณา

10.3 ปัญหาเบื้องต้นคือจะให้มีการพิจารณากี่ชั้น

10.4 ศาลสูงสุดเป็น ศาลทบทวนข้อกฏหมาย

11 การปฏิรุปกระบวนการ ยุติธรรมเมื่อปี ๒๕๔๐

11.1 การห้ามผู้พิพากษาที่มิได้นั่งพิจารณา คำพิพากษาเป็นการปฏิรูปการทำงานของ ศาลพิจารณา

11.2 การออกกฏหมายอาญาเป็นอำนาจของ ศาลเท่านั้น

11.3 การสอบสวนพิจาราคดีต้องรวดเร็ว ต่อเนื่องและเป็นธรรม

11.4 การเพิ่มสิทธิของผู้ต้องหาหรือจำเลย

11.5 การทำความชัดเจนเกี่ยวกับสิทธิของพยาน

11.6 เน้นหนักหลักประกันความเป็นอิสระของผู้พิพากษา

12 การปฏิรูปกระบวนการ ยุติธรรมที่ต้องทำต่อไป

12.1 การสอบสวนฟ้องร้องเป็นกระบวนการตรวจสอบ ความจริงชั้นเจ้าพนักงานที่เป็นกระบวนการเดียว

12.2 องค์กรที่มีอำนาจหน้าที่ในการตรวจสอบ ความจริงชั้นเจ้าพนักงาน

12.2.1 พนักงานสอบสวนสนง.ตำรวจแห่งชาติ

12.2.2 พนักงานสอบสวนกรมสอบสวนคดีพิเศษ

12.2.3 ปชช. และ ปปท.

12.2.4 อัยการ

12.3 การปฏิรูปการทำงานขององค์กรต่างๆ

12.3.1 การปฏิรูป ศาลพิจารณา(Trial Court)

12.3.2 ศาลชั้นอุทธรณ์หากยังมีอยู่ต้องทำให้เป็น ศาลพิจารณา

12.3.3 ศาลฎีการต้องเป็นศาลทบทวนข้อกฏหมาย(Review Court)

12.3.4 ต้องทำความเข้าใจกับบุคคลทุกฝ่ายเพื่อให้ความรับผิดชอบต่อปชช. (Public Accountability)เกิดขึ้น

13 การปฏิรูปกฏหมาย

13.1 ปัจจุบันขาคความเป็นเอกภาพ

13.2 การแก้ไขปรับปรุงกฏหมาย

14 การปฏิรูปการเรียนการสอนกฏหมาย

14.1 การปฏิรูปการศึกษา กับ การปฏิรูปการศึกษากฏหมาย

14.2 การปฏิรูปการเรียนการสอนกฏหมาย ในสถาบันการศึกษากฏหมาย

14.2.1 สอนให้คิดเป็น

14.2.2 สอนกฏหมายอาญาให้ครบวงจร

14.3 การศึกษากฏหมายในสำนักอบรม ศึกษากฏหมายซึ่งเป็นสถาบัน วิชาชีพกับการศึกษากฏหมายใน มหาวิทยาลัยหรือสถาบันการศึกษา กฏหมายต้องแยกกันและเสริมกัน

 

หมายเลขบันทึก: 449098เขียนเมื่อ 14 กรกฎาคม 2011 21:47 น. ()แก้ไขเมื่อ 11 ธันวาคม 2012 13:49 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-อนุญาตแบบเดียวกันจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท