การบูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง


การบูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

การบูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

สู่แผนการจัดการเรียนรู้

 
หน่วยที่.........รายวิชา.................................................เรื่อง......................................................................

ชั้น..............................ครูผู้สอน..........................................................

 
เนื้อหาสาระ  ( ให้ยกประเด็นสำคัญ ๆ เน้นการเขียนเชิงพรรณาหรือบรรยายหากเขียนเป็นข้อ ๆ ก็ได้พิจารณาให้เหมาะสม เขียนมาพอสังเขป )
.......................................................................................................
.......................................................................................................
.......................................................................................................
 
หลักความพอประมาณ  ( เนื้อหาหรือหัวข้อนั้น ๆ  เกี่ยวข้องมีความเชื่อมโยงหรือสอดคล้องกับความพอประมาณอย่างไร โดยคำนึงถึงระดับความสามารถ
ระยะเวลา เศรษฐกิจ การพึ่งตนเอง หรืออื่น ๆ ตามเนื้อหาสาระหรือกิจกรรมการฝึกทักษะให้แก่ผู้เรียน)
.......................................................................................................
.......................................................................................................
.......................................................................................................
 
หลักความมีเหตุผล ( เนื้อหาหรือหัวข้อนั้น ๆ  เกี่ยวข้องมีความเชื่อมโยงหรือสอดคล้องกับความมีเหตุผลอย่างไร ในเชิงวิชาการหรือการปฏิบัติงาน)
.......................................................................................................
.......................................................................................................
.......................................................................................................
 
หลักการมีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี ( เนื้อหาหรือหัวข้อนั้นๆ เมื่อผู้เรียน ได้ศึกษาเรียนรู้  มีความรู้ ความเข้าใจ นำไปประยุกต์ใช้ สามารถคิดวิเคราะห์
สังเคราะห์และประเมินค่าได้ มีทักษะฝีมือชำนาญการในงานอาชีพ ส่งผลทำให้เกิดผลดีต่อผู้เรียน ผู้อื่น สังคม สภาพแวดล้อม เศรษฐกิจ วัฒนธรรม หรืออื่น ๆ
อย่างหนึ่งอย่างใด ให้มองเห็นเป็นรูปธรรม )
.......................................................................................................
.......................................................................................................
.......................................................................................................
เงื่อนไขความรู้ (ผู้เรียนได้รับความรู้สิ่งใดเพิ่มเติมบ้าง เกิดประโยชน์อย่างไร  โดยการเขียน   ให้พิจารณาถึงการตอบจุดประสงค์การเรียนรู้ของเรื่องนั้น ๆ )
เงื่อนไขคุณธรรม ( เนื้อหาหรือหัวข้อเรื่องนั้น นำไปสู่ผู้เรียนโดยปลูกฝังให้มีความประพฤติปฏิบัติตนเป็นผู้มีคุณธรรม จริยธรรมและคุณลักษณะที่พึงประสงค์
จรรยาบรรณวิชาชีพ ตลอดจนความดีงามทั้งหลาย เช่น ความซื่อสัตย์สุจริต ขยันอดทน รู้จักแบ่งปัน ไม่เบียดเบียนผู้อื่น ฯลฯ )
.......................................................................................................
.......................................................................................................
.......................................................................................................
ผลที่เกิดกับผู้เรียน (ผู้เรียนสามารถนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน  ตลอดจนการทำงาน การประกอบอาชีพ ฯลฯ)
.......................................................................................................
.......................................................................................................
.......................................................................................................
หมายเลขบันทึก: 448982เขียนเมื่อ 14 กรกฎาคม 2011 11:34 น. ()แก้ไขเมื่อ 11 ธันวาคม 2012 13:48 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-อนุญาตแบบเดียวกันจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท